กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการ ควบคุมเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์ 1 ปี 2565 ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลเมืองกันตัง ศูนย์ 1

ชื่อโครงการ โครงการ ควบคุมเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์ 1 ปี 2565

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L6895-03-44 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มกราคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ควบคุมเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์ 1 ปี 2565 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ควบคุมเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์ 1 ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ควบคุมเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์ 1 ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 65-L6895-03-44 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มกราคม 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,065.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นสถานที่ที่เด็กอยู่รวมกันเป็นจำนวนมาก เมื่อเจ็บป่วยจะแพร่เชื้อโรคสู่เด็กอื่นได้ง่าย เนื่องจากเด็กเล็กมีภูมิคุ้มกันต่ำจึงมีโอกาสป่วยได้บ่อย โดยเฉพาะโรคติดต่อที่สำคัญและพบบ่อย ได้แก่ โรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ โรคหวัด โรคตาแดง โรคไข้เลือดออก ผิวหนังอักเสบจากเชื้อแบคทีเรีย โรคมือ เท้า ปาก โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน และโรคโควิค๑๙ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีโรคติดเชื้อที่สำคัญอื่นๆ ซึ่งสามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน เช่น หัด หัดเยอรมัน คางทูม คอตีบ ไอกรน และบาดทะยัก เป็นต้น โดยจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพและพัฒนาการโดยรวมของเด็ก การดำเนินงานการป้องกันควบคุมโรคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้มีประสิทธิภาพจึงเป็นสิ่งที่จำเป็น และมีความสำคัญอย่างยิ่งในการช่วยลดการเกิดและแพร่กระจายของโรคติดต่อดังกล่าว โดยครูผู้ดูแลเด็กเป็นบุคลากรที่มีความสำคัญอย่างยิ่งที่จะพัฒนาให้ศูนย์เด็กเล็กปลอดภัยจากโรคต่างๆ เนื่องจากเป็นผู้ที่อยู่ใกล้ชิดเด็กมากที่สุดในช่วงที่เด็กอยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อีกทั้งเป็นผู้มีอิทธิพลต่อการดูแลและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และส่งเสริมพัฒนาการด้านต่างๆ ของเด็ก และสิ่งสำคัญอีกประการที่จะช่วยให้การดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อในศูนย์เด็กเล็กประสบความสำเร็จได้ เกิดจากความตระหนัก ความร่วมมือของบุคลากรทุกภาคส่วนทั้งพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก ในการส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงานของศูนย์เด็กเล็กอย่างเข้มแข็ง         ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองกันตัง ศูนย์ ๑ ได้เห็นความสำคัญของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจึงจัดโครงการนี้ขึ้น เพื่อเฝ้าระวังการป้องกันควบคุมโรคไม่ให้แพร่ระบาดและเพื่อลดอัตราการป่วยของเด็ก โดยจัดให้มีการอบรมเพื่อให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก ตลอดจนกำหนดแนวทางมาตรการในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อซึ่งอาจเพิ่มจากเดิม  คือมีมาตรการการป้องกันควบคุมโรคเป็นการป่วยที่พบจากการตรวจคัดกรองของครู และผู้ดูแลเด็กและแนะนำให้หยุดเรียนและให้ผู้ปกครองพาไปพบแพทย์ ทำให้ลดการระบาดในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และยังป้องกันควบคุมไม่ให้โรคแพร่กระจายและลดอาการป่วยของเด็กต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อป้องกันและควบคุมโรคติดต่อไม่ให้แพร่กระจาย และลดอาการป่วยของเด็กภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  2. เพื่อให้ผู้ปกครอง มีความรู้ และตระหนักถึงความสำคัญในการควบคุมโรคติดต่อ และป้องกันโรคของเด็ก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเสริมทักษะการดูแลตนเองของเด็กเล็กให้ปลอดโรค (ไม่มีค่าใช้จ่าย)
  2. กิจกรรมเฝ้าระวัง/ป้องกันโรค
  3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 36
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กเล็กภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองกันตังมีจำนวนเด็กเล็กที่ป่วยลดลง
  2. ผู้ปกครอง มีความรู้ และสามารถหาวิธีป้องกันโรคติดต่อต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นกับเด็กในขณะที่เด็กอยู่ที่บ้านและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองกันตัง ได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมเฝ้าระวัง/ป้องกันโรค

วันที่ 1 สิงหาคม 2565 เวลา 07:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมเฝ้าระวัง/ป้องกันโรค ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก  เช่น  การทำความสะอาดของเล่น/ของใช้ทุกสัปดาห์  การคัดกรองวัดอุณหภูมิก่อนเข้าเรียน เป็นต้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดกิจกรรมเฝ้าระวัง/ป้องกันโรค ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เช่น การทำความสะอาดของเล่น/ของใช้ทุกสัปดาห์ การคัดกรองวัดอุณหภูมิก่อนเข้าเรียน เป็นต้น

 

0 0

2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้

วันที่ 30 สิงหาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ผู้ปกครอง เรื่องโรคติดต่อ และโรคโควิด-19 แลกเปลี่ยนเรียนรู้/ให้ความรู้ เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องโรคติดต่อในเด็กเล็ก และโรคโควิด-19 ในวันที่ 30 สิงหาคม 2565 ณ อาคารคอซิมบี๊เทศบาลเมืองกันตัง - ลงทะเบียน/ทดสอบความรู้ก่อนเข้ารับการอบรม - พิธีเปิด - บรรยายเรื่อง โรคติดต่อในเด็กเล็ก - ฝึกปฏิบัติและสาธิตการล้างมือที่ถูกวิธี -พักรับประทานอาหารว่าง - บรรยายเรื่อง โรคโควิด-19 - อภิปราย สรุปผลการเรียนรู้ละทดสอบความรู้หลังการอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อบรมให้ความรู้ผู้ปกครอง เรื่องโรคติดต่อ และโรคโควิด-19 แลกเปลี่ยนเรียนรู้/ให้ความรู้ เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องโรคติดต่อในเด็กเล็ก และโรคโควิด-19 ในวันที่ 30 สิงหาคม 2565 ณ อาคารคอซิมบี๊เทศบาลเมืองกันตัง จำนวน 63 คน ทดสอบความรู้ก่อนขหลังอบรมของผู้ปกครอง จำนวน 36 คน

 

36 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

อบรมให้ความรู้ผู้ปกครอง เรื่องโรคติดต่อ และโรคโควิด-19 แลกเปลี่ยนเรียนรู้/ให้ความรู้ เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องโรคติดต่อในเด็กเล็ก และโรคโควิด-19 ในวันที่ 30 สิงหาคม 2565 ณ อาคารคอซิมบี๊เทศบาลเมืองกันตัง จำนวน 63 คน ทดสอบความรู้ก่อนขหลังอบรมของผู้ปกครอง จำนวน 36 คน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อป้องกันและควบคุมโรคติดต่อไม่ให้แพร่กระจาย และลดอาการป่วยของเด็กภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อให้ผู้ปกครอง มีความรู้ และตระหนักถึงความสำคัญในการควบคุมโรคติดต่อ และป้องกันโรคของเด็ก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 36
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 36
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันและควบคุมโรคติดต่อไม่ให้แพร่กระจาย และลดอาการป่วยของเด็กภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (2) เพื่อให้ผู้ปกครอง มีความรู้ และตระหนักถึงความสำคัญในการควบคุมโรคติดต่อ และป้องกันโรคของเด็ก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเสริมทักษะการดูแลตนเองของเด็กเล็กให้ปลอดโรค (ไม่มีค่าใช้จ่าย) (2) กิจกรรมเฝ้าระวัง/ป้องกันโรค (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ควบคุมเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์ 1 ปี 2565 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L6895-03-44

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลเมืองกันตัง ศูนย์ 1 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด