กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะสุกร


“ โครงการส่งเสริมและดูแลสุขภาพช่องปากเด้กเล็ก ประจำปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลเกาะสุกร อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางธิดา หูดัง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมและดูแลสุขภาพช่องปากเด้กเล็ก ประจำปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลเกาะสุกร อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ L1479-65-02-04L^ เลขที่ข้อตกลง 4/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 มีนาคม 2565 ถึง 9 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมและดูแลสุขภาพช่องปากเด้กเล็ก ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะสุกร อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะสุกร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมและดูแลสุขภาพช่องปากเด้กเล็ก ประจำปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมและดูแลสุขภาพช่องปากเด้กเล็ก ประจำปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะสุกร อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ L1479-65-02-04L^ ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 มีนาคม 2565 - 9 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,606.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลเกาะสุกร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสุขภาพช่องปากของเด็กที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ซึ่งอายุระหว่าง 2 ขวบครึ่งถึง 5 ขวบ คือ ปัญหาโรคฟันน้ำนมผุ โดยข้อมูลจากการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศครั้งที่ 8 ปี 2560 พบว่ากลุ่มเด็กอายุ 3 ปี มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 47.1 ในขณะที่ภาคใต้ พบว่าเด็ก ๓ ปี มีอัตราการเกิดสูงอันดับที่ 2 เมื่อเปรียบเทียบกับภาคอื่น ๆ เป็นร้อยละ 57.0
การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในช่องปาก เป็นกิจกรรมหนึ่งที่จะทำให้เด็กมีสุขภาพดี การป้องกันโรคฟันผุสุขภาพช่องปากมีความสำคัญต่อสุขภาพของทุกคนโดยเฉพาะในเด็กปฐมวัยโรคฟันผุในเด็กสามารถพบได้ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นในช่วงขวบปีแรกและอัตราการผุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงอายุ 1 – 3 ปีสาเหตุหลักที่ทำให้เด็กมีฟันผุมาจากพฤติกรรมของมารดาในการเลี้ยงดูบุตรที่ไม่ถูกต้องรวมถึงการดูแลทำความสะอาดช่องปากไม่ถูกวิธีและมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสมก่อให้เกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนมอย่างรุนแรงทำให้เด็กมีความเจ็บปวดเคี้ยวอาหารไม่ได้ตามปกติได้รับสารอาหารที่จำเป็นไม่เพียงพอและส่งผลต่อพัฒนาการการเจริญเติบโตของเด็กได้เด็กปฐมวัยเป็นช่วงที่สำคัญที่สุดในชีวิตเด็กจึงควรได้รับการเลี้ยงดูเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดและเหมาะสมเพื่อให้เด็กมีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์และมีพัฒนาการตามวัยอย่างไรก็ตามจากสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคมปัจจุบันส่งผลให้เด็กได้รับการดูแลเอาใจใส่น้อยลงเด็กส่วนหนึ่งต้องมีปัญหาสุขภาพอนามัยซึ่งส่งผลเสียต่อการเจริญเติบโตและการพัฒนาการของเด็กในด้านสติปัญญาและความสามารถในการเรียนรู้โรคฟันผุในเด็กเล็กนับเป็นปัญหาที่พบมากอีกทั้งฟันผุในฟันน้ำนมมีการลุกลามถึงโพรงประสาทฟันได้อย่างรวดเร็วกว่าฟันแท้เนื่องจากความหนาของเคลือบฟันและเนื้อฟันน้อยกว่าฟันแท้และฟันผุในระยะแรกแรกสามารถลุกลามเป็นรูผุได้ในเวลา6 – 12เดือนเด็กที่เริ่มมีฟันผุในอายุน้อยมีการลุกลามได้เร็วและเริ่มผุในช่วงขวบปีแรกอัตราการผุจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงอายุ 1 – 3 ปี การส่งเสริมสุขภาพช่องปากในเด็กปฐมวัยที่สำคัญในช่วงนี้ได้แก่ การควบคุมอาหารหวาน และการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์วันละ ๒ ครั้ง ควบคู่ไปกับมาตรการป้องกันโรคฟันผุอื่น ๆ เช่น การใช้สารฟลูออไรด์ชนิดทา ร่วมกับการตรวจคัดกรองเด็กที่มีความเสี่ยงต่อฟันผุ และการให้ทันตสุขศึกษา การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันฟันผุในเด็กต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของครอบครัว อสม. ชุมชน รวมทั้งครอบครัว(ผู้ปกครอง)ต้องให้ความสำคัญในการสร้างเสริมพัฒนาการทุกด้านของลูกน้อย การเกิดฟันผุในฟันน้ำนมนอกจากจะมีผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพของเด็กในขณะนั้นแล้วยังมีผลเสียต่อฟันแท้ของเด็กในอนาคตด้วยกล่าวคือฟันน้ำนมที่เสียถูกถอนหรือหลุดไปก่อนที่ฟันแท้จะขึ้นแทนที่จะทำให้ฟันที่อยู่ติดกันรวนเกล้มเอียงเข้าหาช่องว่างทำให้ฟันแท้ที่จะขึ้นแทนตำแหน่งนั้นไม่สามารถขึ้นได้อย่างปกติอาจจะขึ้นมาในลักษณะปิดซ้อนกันหรือมีขนาดใหญ่ไม่เหมาะสมกับใบหน้าของเด็กซึ่งจะเป็นปมด้อยทำให้เด็กไม่กล้าในการแสดงออก สุขภาพในช่องปากมีความสัมพันธ์กับสุขภาพในร่างกายเด็กปฐมวัยเป็นช่วงที่สำคัญที่สุดในชีวิตเด็กจึงควรได้รับการเลี้ยงดูเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดและเหมาะสมเพื่อให้เด็กมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรงและมีพัฒนาการตามวัยปัจจุบันเด็กได้รับการเลี้ยงดูเอาใจใส่น้อยลงเด็กบางส่วนจึงมีปัญหาสุขภาพอนามัยซึ่งส่งผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กด้านสติปัญญาและความสามารถในการเรียนรู้โรคฟันผุในเด็กเล็กนับเป็นปัญหาด้านสุขภาพหนึ่งที่พบมากในวัยเด็กอีกทั้งฟันผุในฟันน้ำนมมีการลุกลามถึงโพรงประสาทฟันได้อย่างรวดเร็วกว่าฟันแท้เนื่องจากความหนาของเคลือบฟันและเนื้อฟันน้อยกว่าฟันแท้และฟันผุในระยะเริ่มแรกสามารถลุกลามได้ในเวลา 6 – 12 เดือนการป้องกันฟันผุในเด็กปฐมวัยต้องอาศัยความร่วมมือของผู้ปกครองและครูในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กเพื่อช่วยลดอัตราการเกิดฟันผุในวัยเด็กได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหอมได้ตระหนักถึงความสำคัญในการการส่งเสริมดูแลสุขภาพฟันและการป้องกันโรคในช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียนเพื่อให้เด็กมีสุขภาพฟันและช่องปากที่แข็งแรงจึงได้จัดทำโครงการหนูน้อยฟันดีของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านน้ำหอมขึ้นเพื่อส่งเสริมสุขภาพช่องปากและเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัย ในการดูแลช่องปากและฟันของเด็กให้ฟันดีห่างไกลโรคฟันผุอย่างยั่งยืนต่อไป ผลการตรวจฟันระดับจังหวัดตรังประจำปี ๒๕๖๒ อำเภอปะเหลียนมีจำนวนเด็ก ๓ ปี อัตราฟันน้ำนมผุ
ร้อยละ ๖๒.๓ และเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเกาะสุกรมีจำนวนเด็กฟันผุทั้งหมดร้อยละ ๓๖.๕ แม้นเด็กส่วนใหญ่จะมีปัญหาฟันน้ำนมผุมาตั้งแต่ก่อนเข้าเรียนที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก แต่ในช่วงที่เด็กได้รับการดูแลจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เด็กมีปัญหาฟันน้ำนมผุเพิ่มมากขึ้น ซึ่งมีสาเหตุมาจากเด็กในช่วงวัยนี้มีโอกาสสัมผัสกับปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุ เช่น เด็กมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสมเช่นการบริโภคขนมหวานเหนียวติดฟัน น้ำอัดลม ขนมขบเคี้ยว มีพฤติกรรมติดขวดนมและไม่ได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง ส่งผลให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเกือบทุกคนเป็นโรคฟันผุ และบางคนฟันผุเกือบทั้งปาก ทั้งนี้ มีการวิจัยที่พบว่าการมีฟันผุหลายซี่ในปาก มีความสัมพันธ์กับภาวะแคระแกร็น (Stunt) ของเด็ก ปัญหาฟันน้ำนมผุส่งผลเสียต่อพัฒนาการ และสุขภาพของเด็กทั้งในช่วงวัยเด็กและในระยะยาว การป้องกันและแก้ปัญหาฟันน้ำนมผุให้มีประสิทธิผล ต้องมีการดำเนินการอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ตั้งแต่ระยะที่แม่ตั้งครรภ์ ช่วงของการเลี้ยงดูที่บ้าน และในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเกาะสุกรจึงจัดทำโครงการ การส่งเสริมและดูแลสุขภาพช่องปาก ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อลดหรือยับยั้งอัตราการเพิ่มของโรคฟันน้ำนมผุของเด็กปฐมวัย ๒. เพื่อให้เด็กได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี ๓. เพื่อให้เด็กมีทัศนคติที่ดีในการดูแลความสะอาดของช่องปากและฟัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  2. โครงการและส่งเสริมและดูแลสุขภาพช่องปากเด็กเล็ก ประจำปีงบประมาณ 2565

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 85
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 85
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเกาะสุกรมีอัตราการสูญเสียฟันจากฟันผุลดลง ๒.เด็กปฐมวัยได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี ๓.เด็กมีทัศนคติที่ดีในการดูแลความสะอาดของช่องปากและฟัน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อลดหรือยับยั้งอัตราการเพิ่มของโรคฟันน้ำนมผุของเด็กปฐมวัย ๒. เพื่อให้เด็กได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี ๓. เพื่อให้เด็กมีทัศนคติที่ดีในการดูแลความสะอาดของช่องปากและฟัน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กเล็กมีสุขภาพปากที่ดี
60.00 60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 170 170
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 85 85
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 85 85
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อลดหรือยับยั้งอัตราการเพิ่มของโรคฟันน้ำนมผุของเด็กปฐมวัย ๒. เพื่อให้เด็กได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี ๓. เพื่อให้เด็กมีทัศนคติที่ดีในการดูแลความสะอาดของช่องปากและฟัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (2) โครงการและส่งเสริมและดูแลสุขภาพช่องปากเด็กเล็ก ประจำปีงบประมาณ 2565

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมและดูแลสุขภาพช่องปากเด้กเล็ก ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ L1479-65-02-04L^

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางธิดา หูดัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด