กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี


“ โครงการสตรีมุสลิมยุคใหม่ ใส่ใจตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกด้วย HPV DNA Test ปี 2565 ”

ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางพนิดา สาโด

ชื่อโครงการ โครงการสตรีมุสลิมยุคใหม่ ใส่ใจตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกด้วย HPV DNA Test ปี 2565

ที่อยู่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L2971-01-03 เลขที่ข้อตกลง 03/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสตรีมุสลิมยุคใหม่ ใส่ใจตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกด้วย HPV DNA Test ปี 2565 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสตรีมุสลิมยุคใหม่ ใส่ใจตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกด้วย HPV DNA Test ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างเจตคติที่ดีให้กับกลุ่มเป้าหมายต่อการเข้ารับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม (2) 2.เพื่อลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งระยะลุกลามในสตรี และเพิ่มอัตรารอดชีวิตจากโรคมะเร็ง ส่งเสริมสุขภาพสตรีและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (3) 3.เพื่อให้สตรีที่คัดกรองที่พบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อพบแพทย์ทันที

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ให้ความรู้ 1.1 กิจกรรมย่อย ให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมะเร็งปากมดลูก เป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญ พบมากเป็นอันดับ 2 รองจากมะเร็งเต้านม ในผู้หญิงไทยปัจจุบันมีการศึกษายืนยันชัดเจนแล้วว่ามะเร็งปากมดลูก เกิดจากเชื้อ Human Papilloma virus หรือเรียกสั้นๆ ว่า ‘HPV’ชนิดที่ก่อให้เกิดมะเร็งมีด้วยกันหลายสายพันธุ์ ซึ่งปัจจุบันพบว่า สายพันธุ์ที่ 16 และ 18HPV เป็นเชื้อที่ติดง่าย ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และ ทางการสัมผัสจากพาหะที่นำพาเชื้อไปสู่ช่องคลอด
ดังนั้น ผู้หญิงที่มีเพศสัมพันธ์ทุกคนมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ HPV ซึ่งก่อให้เกิดมะเร็งปากมดลูกได้ยังมีการ สึกษา พบว่ามีปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ได้แก่ ผู้ที่มีอายุมากกว่า 40 ปีขึ้น, มีเพศสัมพันธ์หลายคน, สูบบุหรี่, มีลูกจำนวนมาก และผู้ที่ภูมิคุ้มกันบกพร่องโดยมีอาการที่แสดงของผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก ส่วนใหญ่มักไม่มีอาการในช่วงแรก แต่เมื่อเข้าสู่ระยะรุนแรงมากขึ้น อาจมีเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอดหลังมีเพศสัมพันธ์ หรือจากการตรวจภายใน อาจจะมีภาวะเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอดที่ไม่ใช่รอบเดือน มีเลือดออกหลังจากเข้าสู่วัยทองแล้ว และอาจจะมีภาวะตกขาวมีกลิ่นเหม็นผิดปกติ หรือมีอาการปวดท้องน้อยร่วมด้วยจากสถิติ พบว่าผู้ป่วยมักจะมาพบแพทย์ เมื่อเข้าสู่ระยะลุกลามแล้ว ทำให้การรักษาเป็นไปได้ยากและมีค่าใช้จ่ายสูง กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข รายงานสถิติผู้เสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกในประเทศไทยประมาณ 4,500 รายต่อปี และพบผู้ป่วยรายใหม่ประมาณ 8,000 คน ต่อปีนั่นคือจะมีสตรีไทยที่เสียชีวิตจากโรคมะเร็ง ปากมดลูก วันละ 8-10 ราย จากการดำเนินงานที่ผ่านมา นั้น การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก โดยการตรวจแป๊บสเมียร์ (Conventional Pap Smear) เป็นการเก็บเซลล์ปากมดลูกมาป้ายบนสไลด์ความแม่นยำในการตรวจขึ้นอยู่กับความชำนาญของผู้อ่านสไลด์แต่ในปัจจุบัน มีวิธีการตรวจแบบเจาะลึกระดับยีนสืโครโมโซม(DNA)ด้วยเทคนิค ‘HPV DNA Testing’ ที่สามารถค้นหาเชื้อ HPV อย่างแม่นยำตั้งแต่ระยะแรก ทำให้สามารถรักษาได้ทันท่วงที ก่อนที่เชื้อจะพัฒนาเป็นมะเร็งปากมดลูก หากตรวจพบเร็วจะมีโอกาสรักษาหายขาดถึง 80-90%

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อสร้างเจตคติที่ดีให้กับกลุ่มเป้าหมายต่อการเข้ารับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
  2. 2.เพื่อลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งระยะลุกลามในสตรี และเพิ่มอัตรารอดชีวิตจากโรคมะเร็ง ส่งเสริมสุขภาพสตรีและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
  3. 3.เพื่อให้สตรีที่คัดกรองที่พบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อพบแพทย์ทันที

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.ให้ความรู้ 1.1 กิจกรรมย่อย ให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายมีเจตคติที่ดีต่อการเข้ารับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
  2. ลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งระยะลุกลามในสตรี และเพิ่มอัตรารอดชีวิตจากโรคมะเร็ง ส่งเสริมสุขภาพสตรีและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
  3. สตรีที่คัดกรองที่พบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อพบแพทย์ทันที

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.ให้ความรู้ 1.1 กิจกรรมย่อย ให้ความรู้

วันที่ 19 กันยายน 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ชี้แจง/ประชาสัมพันธ์โครงการให้กลุ่มเป้าหมายทราบ เพื่อเข้าร่วมโครงการ 2.จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมพร้อมทั้งสอนวิธีการตรวจ ค้นหา มะเร็งเต้านมด้วยตนเองที่ถูกต้องและอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็ง ปากมดลูกตามหลักศาสนา แก่สตรีอายุ 30-70 ปี                                                                                                                                                                                                                                                                                              3.จัดรณรงค์เชิงรุกในพื้นที่ให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก โดยอาสาสมัครสาธารณสุข 4.เสริมสร้างแรงจูงใจเพื่อสตรีอายุ 30-70 ปี ที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการ มารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
  2. ส่งต่อกลุ่มเป้าหมายที่มีความผิดปกติไปพบแพทย์เพื่อรับการตรวจวินิจฉัยโรคและ ให้การรักษาที่ถูกต้องอย่างรวดเร็ว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายมีเจตคติที่ดีต่อการเข้ารับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม สามารถตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้ แกนนำ อสม. มีการรณรงค์เชิงรุกในพื้นที่ สามารถให้ความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมแก่ประชาชนในเขตรับผิดชอบได้ ทำให้เกิดเป็นการสร้างแรงจูงใจให้เข้ารับการตรวจมะเร็งปากมดลูก

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อสร้างเจตคติที่ดีให้กับกลุ่มเป้าหมายต่อการเข้ารับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของสตรีอายุ 30-70 ปี ที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ เรื่องโรคมะเร็งเต้านมมากขึ้น สามารถตรวจหาก้อนมะเร็งได้ด้วยตนเอง โดยผ่านการประเมินทักษะ การตรวจเต้านมด้วยตนเอง ได้อย่างถูกต้องจากเจ้าหน้าที่
80.00 80.00

 

2 2.เพื่อลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งระยะลุกลามในสตรี และเพิ่มอัตรารอดชีวิตจากโรคมะเร็ง ส่งเสริมสุขภาพสตรีและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 20(สะสม 5 ปี เท่ากับกับร้อยบะ 80) ของสตรีอายุ 30-70 ปี มีความรู้ความเข้าใจเรื่องมะเร็งปากมดลูกมากขึ้นและได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
0.00

 

3 3.เพื่อให้สตรีที่คัดกรองที่พบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อพบแพทย์ทันที
ตัวชี้วัด : สตรีที่คัดกรองที่พบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อพบแพทย์ทันที
100.00 0.00

สตรีอายุ 30-70 ปี ที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ไม่พบความผิดปกติ

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างเจตคติที่ดีให้กับกลุ่มเป้าหมายต่อการเข้ารับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม (2) 2.เพื่อลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งระยะลุกลามในสตรี และเพิ่มอัตรารอดชีวิตจากโรคมะเร็ง ส่งเสริมสุขภาพสตรีและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (3) 3.เพื่อให้สตรีที่คัดกรองที่พบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อพบแพทย์ทันที

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ให้ความรู้ 1.1 กิจกรรมย่อย ให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการสตรีมุสลิมยุคใหม่ ใส่ใจตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกด้วย HPV DNA Test ปี 2565

รหัสโครงการ 65-L2971-01-03 รหัสสัญญา 03/2565 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2564 - 30 กันยายน 2565

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

ทางโครงการ ได้ทำการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเบื้องต้นด้วยวิธี เอชพีวี ดีเอ็นเอ (HPV DNA Test) เป็นปีแรก ซึ่งเป็นการตรวจด้วยวิธีเจาะลึกระดับดีเอ็นเอเพื่อตรวจหาเชื้อเอชพีวี สายพันธุ์ที่มีความเสี่ยงสูงทั้ง 14 สายพันธุ์ คือสายพันธุ์ 16, 18 และ เอชพีวี อีก 12 สายพันธุ์ ซึ่งเป็นสาเหตุหลักสูงถึง 99% ของการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกในผู้หญิง มีความแม่นยำสูง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

มีการจัดรณรงค์เชิงรุกในพื้นที่ให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก โดยอาสาสมัครสาธารณสุข

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

การให้ความรู้เรื่อง บุหรี่ เพื่อลดโอกาสเกิดมะเร็งสูง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

ให้ความรู้เรื่องการมีเพศสัมพันธ์

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการสตรีมุสลิมยุคใหม่ ใส่ใจตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกด้วย HPV DNA Test ปี 2565 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L2971-01-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพนิดา สาโด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด