กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ อสม. น้อย ประจำโรงเรียน
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านคูหา
วันที่อนุมัติ 31 มีนาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2565 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2565
งบประมาณ 19,936.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวกชภัท เกื้อก่อยอด
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การสร้างเสริมและป้องกันโรค สามารถดำเนินการทั้งบุคคล ครอบครัว ชุมชน โดยจำเป็นต้องอาศัยความรู้ ความเข้าใจของโรคและกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ในชุมชนต่าง ๆ ของตำบล อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) หมายถึง บุคคลที่ได้รับการคัดเลือกจากชาวบ้านในแต่ละกลุ่มหมู่บ้าน และได้รับการอบรมตามหลักสูตรที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด โดยมีบทบาทที่สำคัญในฐานะผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรรมสุขภาพ ด้านพฤกรรมสุขภาพอนามัยการสื่อสารข่าวสาธารณสุข การแนะนำเผยแพร่ความรู้การวางแผนและประสานกิจกรรมพัฒนาสาธารณสุขตลอดจนให้บริการสาธารณสุขด้านต่าง ๆ เช่น การส่งเสริมสุขภาพ การเฝ้าระวัง และการป้องกันโรค การช่วยเหลือและรักษาพยาบาลขั้นต้นโดยใช้ยา และเวชภัณฑ์ตามขอบเขตที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด การปฐมพยาบาลเบื้องต้น การฟื้นฟูสภาพและจัดเพื่อให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมและสร้างกลุ่มเยาวชนรุ่นใหม่ จึงเห็นว่าการให้ความรู้กับเยาวชน/นักเรียนในโรงเรียน

ทางโรงเรียนบ้านคูหาได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาสาธารณสุขทั้งในหมู่บ้าน/ชุมชน รวมทั้งโรงเรียนที่อยู่ในเขตตำบลคูหา โครงการ อสม. น้อยประจำโรงเรียน จึงเป็นการพัฒนาศักยภาพด้านสาธารณสุขของเยาวชนให้มีความรู้และสามารถถ่ายทอดความรู้ต่อให้กับเยาวชนในโรงเรียน ชุมชน และหมู่บ้านได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป จึงได้มีการจัดอบรมให้ความรู้กับอาสาสมัคร อสม. น้อย ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ อสม. น้อยมีความรู้ความเข้าใจ มีทัศนคติ ที่ดีต่องานสาธารณสุขมูลฐาน

 

0.00
2 เพื่อให้ อสม. น้อยสามารถปฏิบัติงาน และดำเนินกิจกรรมพัฒนารูปแบบงานสาธารณสุขมูลฐานอย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมดูแลตนเอง ครอบครัว และเยาวชนในหมู่บ้าน

 

0.00
3 เพื่อให้เกิดการบูรณาการร่วมกันในการทำงานของหน่วยงาน กลุ่มองค์กร จิตอาสา ปราชญ์ชาวบ้าน ในการดูแลสุขภาพของคนภายในชุมชน

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อให้ อสม. น้อยมีความรู้ความเข้าใจ มีทัศนคติ ที่ดีต่องานสาธารณสุขมูลฐาน

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อให้ อสม. น้อยสามารถปฏิบัติงาน และดำเนินกิจกรรมพัฒนารูปแบบงานสาธารณสุขมูลฐานอย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมดูแลตนเอง ครอบครัว และเยาวชนในหมู่บ้าน

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : เพื่อให้เกิดการบูรณาการร่วมกันในการทำงานของหน่วยงาน กลุ่มองค์กร จิตอาสา ปราชญ์ชาวบ้าน ในการดูแลสุขภาพของคนภายในชุมชน

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

1 เม.ย. 65 - 30 ก.ย. 65 ให้ความรู้และฝึกปฏิบัติผู้เข้าร่วมอบรม นักเรียน แกนนำ อสม. น้อย 0.00 19,936.00 -
21 เม.ย. 65 จัดอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติ อสม. น้อย 40.00 19,936.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. อสม.น้อยมีความรู้ความเข้าใจ มีทัศนคติที่ดีต่องานสาธารณสุขมูลฐาน
  2. อสม. น้อยสามารถปฏิบัติงาน และดำเนินกิจกรรมพัฒนารูปแบบงานสาธารณสุขมูลฐานอย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมทั้งดูแลตนเอง เพื่อ ๆ ภายในโรงเรียน และครอบครัว
  3. กลุ่มผู้นำเด็กและเยาวชน มีการพัฒนาศักยภาพในการจัดการทางสุขภาพ
  4. เกิดการบูรณาการร่วมกันในการทำงานของหน่วยงาน กลุ่มองค์กร จิตอาสา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ในการดูแลสุขภาพของนักเรียนในโรงเรียนบ้านคูหา
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 31 มี.ค. 2565 00:00 น.