โครงการสตรีกะมิยอรู้เท่าทันมะเร็ง ประจำปี 2565
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสตรีกะมิยอรู้เท่าทันมะเร็ง ประจำปี 2565 ”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายมะยาซิน สาเมาะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะมิยอ
กันยายน 2565
ชื่อโครงการ โครงการสตรีกะมิยอรู้เท่าทันมะเร็ง ประจำปี 2565
ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 65-L3009-01-12 เลขที่ข้อตกลง 12/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสตรีกะมิยอรู้เท่าทันมะเร็ง ประจำปี 2565 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะมิยอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสตรีกะมิยอรู้เท่าทันมะเร็ง ประจำปี 2565
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสตรีกะมิยอรู้เท่าทันมะเร็ง ประจำปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-L3009-01-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะมิยอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์การอุบัติการณ์ของโรคมะเร็งในประเทศไทยในปัจจุบันมีผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งอันดับหนึ่ง ประมาณ 60,000รายต่อปีซึ่งมากกว่าโรคหัวใจ สำหรับตำบลกะมิยอมีผู้ป่วยโรคมะเร็ง จำนวน 5 รายแล้ว เสียชีวิตแล้ว 3 รายแล้ว
โรคมะเร็งปากมดลูก มักพบในผู้หญิงอายุ 35-60ปี แต่ก็อาจพบ มะเร็งปากมดลูก ก่อนวัยอันควร ทั้งนี้อาการของผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกจะมากหรือน้อยขึ้นกับระยะของมะเร็ง ซึ่งอาการที่พบในผู้ป่วย โรคมะเร็งปากมดลูก ได้แก่ อาการตกเลือดทางช่องคลอด เป็นอาการที่พบได้มากที่สุดประมาณร้อยละ 80-90 ของผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก ลักษณะเลือดที่ออกอาจจะเป็นเลือดออกกะปริกะปรอยระหว่างรอบเดือน มีตกขาวผิดปกติ กลิ่นเหม็น มีเลือดปน หรือมีเลือดออกเวลามีเพศสัมพันธ์ ถ้าเป็นมากและมะเร็งลุกลามออกไปด้านข้าง หรือลุกลามไปที่อุ้งเชิงกรานก็จะมีอาการปวดหลังได้ เพราะไปกดทับเส้นประสาท อาการในระยะหลังเมื่อมะเร็งลุกลามหรือไปสู่อวัยวะอื่นๆ ได้แก่ ขาบวม ปวดหลัง ปวดก้นกบ ปัสสาวะเป็นเลือด ถ่ายอุจจาระเป็นเลือด เป็นต้น โรคมะเร็งมี 4 ระยะ ได้แก่ ระยะ 0 คือ เซลล์มะเร็งยังไม่กระจาย วิธีรักษา มะเร็งปากมดลูก ระยะ 0 คือ ผ่าตัดเล็ก ซึ่งใช้เวลาเพียง 15 นาที และตรวจติดตามอาการ การรักษาระยะนี้ได้ผลเกือบ 100% ระยะที่ 1 เซลล์มะเร็งอยู่ที่ปากมดลูก การรักษา มะเร็งปากมดลูก ระยะ 1คือผ่าตัดใหญ่ ผ่าตัดมดลูก เลาะต่อมน้ำเหลืองในเชิงกราน ซึ่งได้ผลดีถึง 80% ระยะที่ 2 เซลล์มะเร็งกระจายออกจากปากมดลูก โดยยังไม่ไปไกลมาก แต่ก็ไม่สามารถผ่าตัดได้ การรักษา มะเร็งปากมดลูก ระยะที่ 2 นี้ ต้องรักษาด้วยการฉายรังสี และการให้เคมีบำบัด
(คีโม) ได้ผลราว 60% ระยะที่ 3 เซลล์มะเร็งกระจายชิดเชิงกราน การรักษา มะเร็งปากมดลูก ระยะที่ 3 คือใช้รังสีรักษา และการให้เคมีบำบัด การรักษาระยะนี้ได้ผลประมาณ 20-30 % ระยะที่ 4 เป็นระยะที่เซลล์มะเร็งกระจายทั่วร่างกาย การรักษา มะเร็งปากมดลูก ระยะที่ 4 คือการให้คีโม และรักษาตามอาการ โดยหวังผลได้เพียง 5-10% และโอกาสรอดน้อยมาก
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกะมิยอ เล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพแม่บ้าน ที่มีหน้าที่ดูแลลูก ดูแลครอบครัวเคียงคู่พ่อบ้าน เมื่อขาดแม่บ้านไปจะมีผลกระทบหลายอย่างตามมา เช่น ครอบครัวตกอยู่ในสภาวะบ้านแตกสาแหรกขาด เด็กขาดความอบอุ่น และปัญหายาเสพติด จึงเป็นภาระของสังคมอีก ดังนั้นจึงได้จัดทำโครงการนี้เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจและเปลี่ยนมุมมองใหม่ เพื่อให้แม่บ้านเกิดความตระหนักในการป้องกันโรค
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อจัดการอบรมให้ความรู้และผลกระทบโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมแก่สตรีอายุ 30 ปี
- เพื่อสอนการตรวจเต้านมด้วยตนเอง
- เพื่อรณรงค์ทำการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธีการ pap smear
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ดอบรมให้ความรู้และผลกระทบโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
300
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเป้าหมายหลังรับการอบรมมีความรู้เรื่องการป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมเพิ่มขึ้น
- อัตราการป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในตำบลกะมิยอ ลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- กลุ่มเป้าหมายหลังรับการอบรมมีความรู้เรื่องการป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมเพิ่มขึ้น
- อัตราการป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในตำบลกะมิยอ ลดลง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อจัดการอบรมให้ความรู้และผลกระทบโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมแก่สตรีอายุ 30 ปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและเต้านม
0.00
2
เพื่อสอนการตรวจเต้านมด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 40 ของกลุ่มเป้าหมายเห็นความสำคัญของการตรวจ แป็บเสมียร์และตรวจเต้านมตนเองทุกเดือน
0.00
3
เพื่อรณรงค์ทำการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธีการ pap smear
ตัวชี้วัด : ตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธีการ pap smear
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
300
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
300
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดการอบรมให้ความรู้และผลกระทบโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมแก่สตรีอายุ 30 ปี (2) เพื่อสอนการตรวจเต้านมด้วยตนเอง (3) เพื่อรณรงค์ทำการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธีการ pap smear
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ดอบรมให้ความรู้และผลกระทบโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสตรีกะมิยอรู้เท่าทันมะเร็ง ประจำปี 2565 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 65-L3009-01-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายมะยาซิน สาเมาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสตรีกะมิยอรู้เท่าทันมะเร็ง ประจำปี 2565 ”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายมะยาซิน สาเมาะ
กันยายน 2565
ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 65-L3009-01-12 เลขที่ข้อตกลง 12/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสตรีกะมิยอรู้เท่าทันมะเร็ง ประจำปี 2565 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะมิยอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสตรีกะมิยอรู้เท่าทันมะเร็ง ประจำปี 2565
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสตรีกะมิยอรู้เท่าทันมะเร็ง ประจำปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-L3009-01-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะมิยอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์การอุบัติการณ์ของโรคมะเร็งในประเทศไทยในปัจจุบันมีผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งอันดับหนึ่ง ประมาณ 60,000รายต่อปีซึ่งมากกว่าโรคหัวใจ สำหรับตำบลกะมิยอมีผู้ป่วยโรคมะเร็ง จำนวน 5 รายแล้ว เสียชีวิตแล้ว 3 รายแล้ว
โรคมะเร็งปากมดลูก มักพบในผู้หญิงอายุ 35-60ปี แต่ก็อาจพบ มะเร็งปากมดลูก ก่อนวัยอันควร ทั้งนี้อาการของผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกจะมากหรือน้อยขึ้นกับระยะของมะเร็ง ซึ่งอาการที่พบในผู้ป่วย โรคมะเร็งปากมดลูก ได้แก่ อาการตกเลือดทางช่องคลอด เป็นอาการที่พบได้มากที่สุดประมาณร้อยละ 80-90 ของผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก ลักษณะเลือดที่ออกอาจจะเป็นเลือดออกกะปริกะปรอยระหว่างรอบเดือน มีตกขาวผิดปกติ กลิ่นเหม็น มีเลือดปน หรือมีเลือดออกเวลามีเพศสัมพันธ์ ถ้าเป็นมากและมะเร็งลุกลามออกไปด้านข้าง หรือลุกลามไปที่อุ้งเชิงกรานก็จะมีอาการปวดหลังได้ เพราะไปกดทับเส้นประสาท อาการในระยะหลังเมื่อมะเร็งลุกลามหรือไปสู่อวัยวะอื่นๆ ได้แก่ ขาบวม ปวดหลัง ปวดก้นกบ ปัสสาวะเป็นเลือด ถ่ายอุจจาระเป็นเลือด เป็นต้น โรคมะเร็งมี 4 ระยะ ได้แก่ ระยะ 0 คือ เซลล์มะเร็งยังไม่กระจาย วิธีรักษา มะเร็งปากมดลูก ระยะ 0 คือ ผ่าตัดเล็ก ซึ่งใช้เวลาเพียง 15 นาที และตรวจติดตามอาการ การรักษาระยะนี้ได้ผลเกือบ 100% ระยะที่ 1 เซลล์มะเร็งอยู่ที่ปากมดลูก การรักษา มะเร็งปากมดลูก ระยะ 1คือผ่าตัดใหญ่ ผ่าตัดมดลูก เลาะต่อมน้ำเหลืองในเชิงกราน ซึ่งได้ผลดีถึง 80% ระยะที่ 2 เซลล์มะเร็งกระจายออกจากปากมดลูก โดยยังไม่ไปไกลมาก แต่ก็ไม่สามารถผ่าตัดได้ การรักษา มะเร็งปากมดลูก ระยะที่ 2 นี้ ต้องรักษาด้วยการฉายรังสี และการให้เคมีบำบัด
(คีโม) ได้ผลราว 60% ระยะที่ 3 เซลล์มะเร็งกระจายชิดเชิงกราน การรักษา มะเร็งปากมดลูก ระยะที่ 3 คือใช้รังสีรักษา และการให้เคมีบำบัด การรักษาระยะนี้ได้ผลประมาณ 20-30 % ระยะที่ 4 เป็นระยะที่เซลล์มะเร็งกระจายทั่วร่างกาย การรักษา มะเร็งปากมดลูก ระยะที่ 4 คือการให้คีโม และรักษาตามอาการ โดยหวังผลได้เพียง 5-10% และโอกาสรอดน้อยมาก
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกะมิยอ เล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพแม่บ้าน ที่มีหน้าที่ดูแลลูก ดูแลครอบครัวเคียงคู่พ่อบ้าน เมื่อขาดแม่บ้านไปจะมีผลกระทบหลายอย่างตามมา เช่น ครอบครัวตกอยู่ในสภาวะบ้านแตกสาแหรกขาด เด็กขาดความอบอุ่น และปัญหายาเสพติด จึงเป็นภาระของสังคมอีก ดังนั้นจึงได้จัดทำโครงการนี้เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจและเปลี่ยนมุมมองใหม่ เพื่อให้แม่บ้านเกิดความตระหนักในการป้องกันโรค
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อจัดการอบรมให้ความรู้และผลกระทบโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมแก่สตรีอายุ 30 ปี
- เพื่อสอนการตรวจเต้านมด้วยตนเอง
- เพื่อรณรงค์ทำการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธีการ pap smear
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ดอบรมให้ความรู้และผลกระทบโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 300 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเป้าหมายหลังรับการอบรมมีความรู้เรื่องการป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมเพิ่มขึ้น
- อัตราการป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในตำบลกะมิยอ ลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- กลุ่มเป้าหมายหลังรับการอบรมมีความรู้เรื่องการป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมเพิ่มขึ้น
- อัตราการป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในตำบลกะมิยอ ลดลง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อจัดการอบรมให้ความรู้และผลกระทบโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมแก่สตรีอายุ 30 ปี ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและเต้านม |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อสอนการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 40 ของกลุ่มเป้าหมายเห็นความสำคัญของการตรวจ แป็บเสมียร์และตรวจเต้านมตนเองทุกเดือน |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อรณรงค์ทำการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธีการ pap smear ตัวชี้วัด : ตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธีการ pap smear |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 300 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 300 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดการอบรมให้ความรู้และผลกระทบโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมแก่สตรีอายุ 30 ปี (2) เพื่อสอนการตรวจเต้านมด้วยตนเอง (3) เพื่อรณรงค์ทำการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธีการ pap smear
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ดอบรมให้ความรู้และผลกระทบโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสตรีกะมิยอรู้เท่าทันมะเร็ง ประจำปี 2565 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 65-L3009-01-12
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายมะยาซิน สาเมาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......