กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง


“ โครงการภูมิพลังเยาวชนต้านภัยยาเสพติดด้วยกีฬาฟุตบอล ”

ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายสักรินทร์ ขันสู้การ

ชื่อโครงการ โครงการภูมิพลังเยาวชนต้านภัยยาเสพติดด้วยกีฬาฟุตบอล

ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2565-L7161-2-39 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 กันยายน 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการภูมิพลังเยาวชนต้านภัยยาเสพติดด้วยกีฬาฟุตบอล จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการภูมิพลังเยาวชนต้านภัยยาเสพติดด้วยกีฬาฟุตบอล



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการภูมิพลังเยาวชนต้านภัยยาเสพติดด้วยกีฬาฟุตบอล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2565-L7161-2-39 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 กันยายน 2565 - 31 ธันวาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,685.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

แม้ปัญหายาเสพติดในปัจจุบันจะลดระดับความรุนแรงลงอย่างมาก อันเป็นผลจากการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดอย่างต่อเนื่องในหลายช่วงปีที่ผ่านมา แต่จากการเฝ้าระวังยาเสพติด พบว่า เยาวชน เป็นกลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยงต่อการเข้ามาเกี่ยวข้องกับยาเสพติดมากที่สุด ทั้งที่เกี่ยวกับปัจจัยของวัย อายุ ประสบการณ์ ความต้องการแสวงหาสิ่งใหม่ๆ ฯลฯ จากข้อมูลบำบัดรักษาในปัจจุบัน เกือบ 50 เปอร์เซ็นต์ ของกลุ่มผู้บำบัดรักษาทั่วประเทศ มีเยาวชนกลุ่มเสี่ยงที่อาจจะมีโอกาสเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดได้ หากไม่มีมาตรการป้องกันเพียงพอ ประมาณ 5 ล้านคน ในจำนวนนี้ ถือเป็นเยาวชนกลุ่มเสี่ยงสูงต่อการเข้ามาเกี่ยวข้องกับยาเสพติด และประมาณ 5 แสนคน เป็นเยาวชนทั้งในและนอกสถานศึกษา ดังที่กล่าวมาแล้ว ยาเสพติดยังส่งผลให้เกิดปัญหากับเยาวชนมีหลายมิติ ผสมผสานกัน เช่น ส่งผลทำลายประสิทธิภาพในการเรียนรู้ของเยาวชน ผลกระทบทั้งด้านสภาพร่างกายและความผิดปกติด้านจิตใจ ความคิด ความจำ ปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในกลุ่มเด็กและเยาวชนไทย ซึ่งปัจจัยหนึ่งมาจากการแพร่ระบาดของสื่อที่ไม่เหมาะสมหรือลามกอนาจารผ่านทางสื่อแต่ละประเภท จนทำให้เด็กและเยาวชนไทยซึ่งขาดภูมิคุ้มกันในการบริโภคสื่อ มีการเลียนแบบพฤติกรรมและนำไปสู่ปัญหาดังกล่าว การแก้ไขปัญหาเยาวชน จึงมิใช่การมุ่งแก้ไขปัญหาใดปัญหาหนึ่ง หากต้องดำเนินการครบวงจร ครอบคลุมถึงปัจจัยที่เป็นสาเหตุ ปัจจัย และเงื่อนไข ทั้งที่เป็นบุคคลและเงื่อนไขของสภาพแวดล้อม อีกทั้ง จากสถานการณ์ปัญหาเด็กและเยาวชนในสังคมไทยยุคปัจจุบัน ได้ทวีความรุนแรงสูงมากขึ้นเกือบทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านการมีทัศนคติและพฤติกรรมเบี่ยงเบน เหินห่างศาสนา มีค่านิยมแบบบริโภคนิยมอย่างฟุ่มเฟือย การทะเลาะวิวาท ติดยาเสพติด การเสพสื่อลามกอนาจาร ติดเกมส์ ฯลฯ ซึ่งปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร และขาดความรู้ความเข้าใจในการคุมกำเนิดและป้องกัน ก็เป็นอีกปัญหาหนึ่ง ที่มีแนวโน้มรุนแรงและหนักหน่วงจนน่าตกใจ กลุ่มอาสาสอนบอลเยาวชนเบตง เป็นกลุ่มองค์กรหนึ่งที่ดำเนินกิจกรรมกับเด็กเยาวชนในพื้นที่เทศบาลเมืองเบตงมาโดยตลอด และจากการดำเนินการพบปัญหาเด็กและเยาวชนหลังเลิกเรียนจะมีการจับกลุ่มมั่วสุม จนถึงเข้าไปพัวพันกับบุหรี่และยาเสพติดประเภทต่างๆเนื่องจากในเขตเทศบาลเมืองเบตงมีพื้นที่ที่มีเด็กเยาวชนทั้งในเขตและนอกเขตสามารถใช้เป็นที่มั่วสุมได้หลายพื้นที่ โดยเฉพาะในสนามกีฬาเทศบาลเมืองเบตง อีกการทั้งระบบเทคโนโลยีการสื่อสารมีความก้าวหน้าสามารถติดต่อสื่อสารรวมกลุ่ม หรือกระจายข้อมูลข่าวสารอย่างสะดวกรวดเร็ว การแพร่ระบาดของยาเสพติดในพื้นที่เป็นไปอย่างสะดวก กลุ่มอาสาสอนบอลเยาวชนเบตง ได้ตระหนักถึงอันตรายและผลกระทบจากปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กเยาวชนเขตเทศบาลเมืองเบตงเป็นอย่างมาก จึงได้จัดทำโครงการภูมิพลังเยาวชนต้านภัยยาเสพติดด้วยกีฬาฟุตบอลขึ้น เพื่อเป็นการสร้างภูมิคุ้มกัน ทั้งทางด้านความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ ที่จะสามารถนำไปใช้เป็นภูมิคุ้มกันตนเองให้สามารถปฏิเสธยาเสพติด และสร้างภูมิคุ้มกันทางกายโดยการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ด้วยกีฬาฟุตบอล ในช่วงหลังเลิกเรียนและวันหยุด อนึ่งการดำเนินงานดังกล่าว จะสามารถแก้ไขปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กเยาวชนและผลกระทบที่จะตามมา เช่น ปัญหาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การเข้าถึงบุหรี่ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และปัญหาอื่นๆทั้งในด้านสุขภาพกาย จิต สังคม ได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สร้างภูมิคุ้มกันทางกายด้วยกีฬาฟุตบอล วันละ 2 ชม. เป็นเวลา 3 เดือน
  2. อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ
  3. ถอดบทเรียน จากการจัดกิจกรรมจากแบบสรุปแผนผังความคิด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กและเยาวชนกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ในเรื่องยาเสพติด และผลกระทบที่เกิดจากยาเสพติด เช่น โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การเข้าถึงยาสูบ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพกาย จิต สังคม
    1. เด็กและเยาวชนกลุ่มเป้าหมาย ตระหนักถึงอันตรายจากการเสพยาเสพติด และผลกระทบจากยาเสพติด โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การเข้าถึงยาสูบ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านสุขภาพกาย จิต สังคม
    2. เด็กและเยาวชนกลุ่มเป้าหมาย มีทักษะในการป้องกันตนเองจากยาเสพติดได้อย่างถูกต้อง
    3. เด็กและเยาวชนกลุ่มเป้าหมาย มีภูมิคุ้มกันทางกายโดยการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ด้วยการเล่นกีฬาฟุตบอล

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. สร้างภูมิคุ้มกันทางกายด้วยกีฬาฟุตบอล วันละ 2 ชม. เป็นเวลา 3 เดือน

วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 17:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด)     1. ขั้นเตรียม         1.1 ประชุมชี้แจงกลุ่มอาสาสอนบอลเยาวชนเบตง ให้ทราบถึงวัตุประสงค์ของโครงการ         1.2 ติดต่อประสานงานกับผู้เกี่ยวข้องเพื่อขอใช้สถานที่ และประสานวิทยากร     2. กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการ โดยแบ่งเป็น 3 เรื่อง         (1) อบรมเชิงปฎิบัติเรื่อประเภทยาเสพติด         (2) อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องผลกระทบที่เกิดจากยาเสพติด เช่น โรคติดต่อทางเพศสัมพันธื การเข้าถึงยาสูบเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านการป้องกันตนเองจากยาเสพติด         (3) อบรมเชิงปฏิบัติการสร้างทักษะในการป้องกันตนเองจากยาเสพติด       กิจกรรมถอดบทเรียนวีดีทัศน์เรื่องสั้นเกี่ยวยาเสพติด       กิจกรรมสันทนาการ         (1) กิจกรรมสันทนาการเตรียมความพร้อม       กิจกรรมที่ 2 สร้างภูมิคุ้มกันทางกายด้วยกีฬาฟุตบอล         (1) อบรมเชิงปฏิบัติการ ภาคสนามโดยแบ่งกลุ่ม             (เนื้อหาวิชา การเล่นรกีฬาฟุตบอลอย่างถูกต้อง ตามเอกสารแนบท้าย)     กิจกรรมที่ 3 ถอดบทเรียน         - จากการจัดกิจกรรมแบบสรุปแผนผังความคิด   3 ขั้นประเมินผล       (1) จากแบบทดสอบความรู้เรื่องยาเสพติด       (2) จากแบบสรุปแผนผังความคิด       (3) จากการสังเกตการให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม       (4) จากการแจ้งนับ จำนวนเด็กเยาวชนที่เข้าโครงการ และกิจกรรมในแต่ละวัน       (5) จากผลการเข้าร่วมกิจกรรมและสามารถปฏิบัติได้ถูกต้อง   4 ขั้นสรุปและเขียนรายงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผลการดำเนินงานเป็นไปอย่างเรียบร้อยและบรรลุวัตถุประสงค์ทุกประการ ในการออกกำลังกายด้านฟุตบอลและทำให้เด็กมีร่างกายแข็งแรงมากขึ้น มีภูมิต้านทานที่ดีขึ้น 2.จำนวนผู้เข้าร่วมในแผ่นงาน/โครงการ/กิจกรรม 40 คน

 

0 0

2. อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ

วันที่ 9 ธันวาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด)     1. ขั้นเตรียม         1.1 ประชุมชี้แจงกลุ่มอาสาสอนบอลเยาวชนเบตง ให้ทราบถึงวัตุประสงค์ของโครงการ         1.2 ติดต่อประสานงานกับผู้เกี่ยวข้องเพื่อขอใช้สถานที่ และประสานวิทยากร     2. กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการ โดยแบ่งเป็น 3 เรื่อง         (1) อบรมเชิงปฎิบัติเรื่อประเภทยาเสพติด         (2) อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องผลกระทบที่เกิดจากยาเสพติด เช่น โรคติดต่อทางเพศสัมพันธื การเข้าถึงยาสูบเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านการป้องกันตนเองจากยาเสพติด         (3) อบรมเชิงปฏิบัติการสร้างทักษะในการป้องกันตนเองจากยาเสพติด       กิจกรรมถอดบทเรียนวีดีทัศน์เรื่องสั้นเกี่ยวยาเสพติด       กิจกรรมสันทนาการ         (1) กิจกรรมสันทนาการเตรียมความพร้อม       กิจกรรมที่ 2 สร้างภูมิคุ้มกันทางกายด้วยกีฬาฟุตบอล         (1) อบรมเชิงปฏิบัติการ ภาคสนามโดยแบ่งกลุ่ม             (เนื้อหาวิชา การเล่นรกีฬาฟุตบอลอย่างถูกต้อง ตามเอกสารแนบท้าย)     กิจกรรมที่ 3 ถอดบทเรียน         - จากการจัดกิจกรรมแบบสรุปแผนผังความคิด   3 ขั้นประเมินผล       (1) จากแบบทดสอบความรู้เรื่องยาเสพติด       (2) จากแบบสรุปแผนผังความคิด       (3) จากการสังเกตการให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม       (4) จากการแจ้งนับ จำนวนเด็กเยาวชนที่เข้าโครงการ และกิจกรรมในแต่ละวัน       (5) จากผลการเข้าร่วมกิจกรรมและสามารถปฏิบัติได้ถูกต้อง   4 ขั้นสรุปและเขียนรายงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผลการดำเนินงานเป็นไปอย่างเรียบร้อยและบรรลุวัตถุประสงค์ทุกประการ ในการออกกำลังกายด้านฟุตบอลและทำให้เด็กมีร่างกายแข็งแรงมากขึ้น มีภูมิต้านทานที่ดีขึ้น 2.จำนวนผู้เข้าร่วมในแผ่นงาน/โครงการ/กิจกรรม 40 คน

 

40 0

3. ถอดบทเรียน จากการจัดกิจกรรมจากแบบสรุปแผนผังความคิด

วันที่ 25 ธันวาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด)     1. ขั้นเตรียม         1.1 ประชุมชี้แจงกลุ่มอาสาสอนบอลเยาวชนเบตง ให้ทราบถึงวัตุประสงค์ของโครงการ         1.2 ติดต่อประสานงานกับผู้เกี่ยวข้องเพื่อขอใช้สถานที่ และประสานวิทยากร     2. กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการ โดยแบ่งเป็น 3 เรื่อง         (1) อบรมเชิงปฎิบัติเรื่อประเภทยาเสพติด         (2) อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องผลกระทบที่เกิดจากยาเสพติด เช่น โรคติดต่อทางเพศสัมพันธื การเข้าถึงยาสูบเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และปัญหาอื่นๆ ทั้งในด้านการป้องกันตนเองจากยาเสพติด         (3) อบรมเชิงปฏิบัติการสร้างทักษะในการป้องกันตนเองจากยาเสพติด       กิจกรรมถอดบทเรียนวีดีทัศน์เรื่องสั้นเกี่ยวยาเสพติด       กิจกรรมสันทนาการ         (1) กิจกรรมสันทนาการเตรียมความพร้อม       กิจกรรมที่ 2 สร้างภูมิคุ้มกันทางกายด้วยกีฬาฟุตบอล         (1) อบรมเชิงปฏิบัติการ ภาคสนามโดยแบ่งกลุ่ม             (เนื้อหาวิชา การเล่นรกีฬาฟุตบอลอย่างถูกต้อง ตามเอกสารแนบท้าย)     กิจกรรมที่ 3 ถอดบทเรียน         - จากการจัดกิจกรรมแบบสรุปแผนผังความคิด   3 ขั้นประเมินผล       (1) จากแบบทดสอบความรู้เรื่องยาเสพติด       (2) จากแบบสรุปแผนผังความคิด       (3) จากการสังเกตการให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม       (4) จากการแจ้งนับ จำนวนเด็กเยาวชนที่เข้าโครงการ และกิจกรรมในแต่ละวัน       (5) จากผลการเข้าร่วมกิจกรรมและสามารถปฏิบัติได้ถูกต้อง   4 ขั้นสรุปและเขียนรายงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผลการดำเนินงานเป็นไปอย่างเรียบร้อยและบรรลุวัตถุประสงค์ทุกประการ ในการออกกำลังกายด้านฟุตบอลและทำให้เด็กมีร่างกายแข็งแรงมากขึ้น มีภูมิต้านทานที่ดีขึ้น 2.จำนวนผู้เข้าร่วมในแผ่นงาน/โครงการ/กิจกรรม 40 คน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สร้างภูมิคุ้มกันทางกายด้วยกีฬาฟุตบอล          วันละ 2 ชม. เป็นเวลา 3 เดือน (2) อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ (3) ถอดบทเรียน จากการจัดกิจกรรมจากแบบสรุปแผนผังความคิด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการภูมิพลังเยาวชนต้านภัยยาเสพติดด้วยกีฬาฟุตบอล จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2565-L7161-2-39

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสักรินทร์ ขันสู้การ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด