โครงการส่งเสริมแม่ เฝ้าระวังลูก เพื่อดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ในปีงบประมาณ 2565
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมแม่ เฝ้าระวังลูก เพื่อดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ในปีงบประมาณ 2565 ”
ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนาฟีซะห์ หาแว ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตอหลัง
ธันวาคม 2565
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมแม่ เฝ้าระวังลูก เพื่อดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ในปีงบประมาณ 2565
ที่อยู่ ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 65-L3038-01-03 เลขที่ข้อตกลง 10/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมแม่ เฝ้าระวังลูก เพื่อดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ในปีงบประมาณ 2565 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตอหลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมแม่ เฝ้าระวังลูก เพื่อดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ในปีงบประมาณ 2565
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
1) เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
2) เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง
3) เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์
4) เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน
5) เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
กิจกรรมที่ 1 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเจ้าหน้าสาธารณสุข อสม.
กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มศักยภาพ อสม.ในด้านการดูแลหญิงหลังคลอดและการติดตามเยี่ยมบ้านหลังคลอด
กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมจัดอบรมให้กับความรู้หญิงตั้งครรภ์เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์
กิจกรรมที่ 4 อบรมให้กับความรู้หญิงหลังคลอดเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวหลังคลอดและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อย่างน้อย 6 เดือน
กิจกรรมที่ 5 ส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การพัฒนาประเทศให้มีการเจริญเติบโต แข็งแกร่ง ยั่งยืนในทุกด้าน ประการสำคัญมุ่งเน้นพัฒนาคนเป็นหลัก เพื่อให้ได้คุณภาพชีวิตที่ดีอย่างมีศักยภาพจะต้องเริ่มต้นตั้งแต่ปฏิสนธิในครรภ์เพราะเด็กเป็นรากฐานที่สำคัญในการพัฒนาให้เป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต โดยมารดาและเด็กจะได้รับการดูแล และส่งเสริมสุขภาพตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด หลังคลอด เมื่อเกิดมาแล้วต้องได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสมเพื่อให้เติบโตสมวัยและเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไปในอนาคต แต่ปัจจุบัน ข้อมูลอนามัยแม่และเด็กของตำบลตอหลัง ยังมีปัญหาหลายอย่างที่ต้องได้รับการแก้ไข เช่น พฤติกรรมการดูแลด้านสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง ของหญิงตั้งครรภ์ สามี ญาติ ในขณะตั้งครรภ์การฝากครรภ์ไม่ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพ หญิงตั้งครรภ์มารับการฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์มากกว่า 12 สัปดาห์ และ แม่ตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า 20 ปี ปัญหาเหล่านี้เป็นปัจจัยสำคัญ ที่มีผลต่อสุขภาพทั้งทางกายและจิตใจของมารดาที่ตั้งครรภ์ ส่งผลให้มารดาที่ตั้งครรภ์เจ็บป่วยและคลอดก่อนกำหนด ทารกที่คลอดมีสุขภาพไม่แข็งแรงและมีน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 2,700 กรัม เป็นต้น จากการวิเคราะห์ปัญหาการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตอหลัง ปี 2564 พบว่า มีปัญหาหญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีด ซึ่งเกิดจากการที่หญิงตั้งครรภ์ดูแลตนเองในเรื่องโภชนาการอาหารไม่ดีนักในขณะตั้งครรภ์ รองลงมาคือมีปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,700 กรัม ซึ่งมีสาเหตุมาจากการคลอดก่อนกำหนดการมีภาวะทุพโภชนาการของมารดา และปัญหาหญิงตั้งครรภ์มีภาวะเสี่ยง ซึ่งมีสาเหตุมาจากการแต่งงานตั้งแต่อายุยังน้อยและไม่ได้คุมกำเนิดและปัญหาการฝากครรภ์ครั้งแรก เมื่ออายุครรภ์มากกว่า 12 สัปดาห์ และการฝากครรภ์ไม่ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ จากสภาพปัญหา การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กดังกล่าว จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือและการมีส่วนร่วมดำเนินงาน เพื่อดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตอหลัง ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาที่เกิดขึ้นในหญิงตั้งครรภ์ และหญิงหลังคลอดทารกแรกเกิด เพื่อให้ลดปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นในหญิงตั้งครรภ์ และให้ทารกที่คลอดมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง มีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัย เติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของประเทศชาติต่อไป จึงได้จัดทำโครงการดูแลส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดอย่างมีคุณภาพ ประจำปี 2565 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
- เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง
- เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์
- เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน
- เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเจ้าหน้าสาธารณสุข อสม.
- กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มศักยภาพ อสม.ในด้านการดูแลหญิงหลังคลอดและการติดตามเยี่ยมบ้านหลังคลอด
- กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมจัดอบรมให้กับความรู้หญิงตั้งครรภ์เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์
- กิจกรรมที่ 4 อบรมให้กับความรู้หญิงหลังคลอดเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวหลังคลอดและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อย่างน้อย 6 เดือน
- กิจกรรมที่ 5 ส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์
- อบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มศักยภาพ อสม.ในด้านการดูแลหญิงหลังคลอดและ การติดตามเยี่ยมบ้านหลังคลอด
- กิจกรรมจัดอบรมให้กับความรู้หญิงตั้งครรภ์เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์
- อบรมให้กับความรู้หญิงหลังคลอดเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวหลังคลอดและการ เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน
- ส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์
- กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเจ้าหน้าสาธารณสุข อสม.
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
32
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
97
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ ร้อยละ ๘๐
2.อาสาสมัครมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับติดตามดูแลหญิงตั้งครรภ์
3.หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลการตั้งครรภ์และการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อย่างน้อย 6 เดือน
4.ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักตัวไม่ต่ำกว่า 2,700 กรัม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์
วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ออกติดตามเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด ร่วมกับอาสาสมัครในการดูแลหญิง ตั้งครรภ์
2.สนับสนุนอาหารเสริมในหญิงตั้งครรภ์ที่เข้าร่วมโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์ ผู้เข้าร่วมทั้งหมด 35 คน คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ร้อยละ 100
35
0
2. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเจ้าหน้าสาธารณสุข อสม.
วันที่ 4 ตุลาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมที่ 1 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเจ้าหน้าสาธารณสุข อสม. วันที่ 3 ตุลาคม ๒๕65
๐๘.๐๐ – ๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียน เปิดพิธี โดย นายกเทศบาลตำบลตอหลัง
๐๙.๐0 – ๑๐.๐๐ น. รายงานสถานการณ์และสภาพปัญหาของโครงการส่งเสริมแม่ เฝ้าระวังลูก เพื่อดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ปี 2565 โดย นางซำซียะห์ อุมาลี
๑๐.๐0 – ๑๑.๐๐ น. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเจ้าหน้าสาธารณสุข อสม. ประเด็นส่งเสริมแม่ เฝ้าระวังลูก เพื่อดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลัง คลอด พร้อมรับประทานอาหารว่าง
๑1.๐0 – ๑2.๐๐ น. แลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนการทำกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเจ้าหน้าที่ อสม.ผู้เข้าร่วมทั้งหมด 40 คน คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ร้อยละ 100
40
0
3. อบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มศักยภาพ อสม.ในด้านการดูแลหญิงหลังคลอดและ การติดตามเยี่ยมบ้านหลังคลอด
วันที่ 6 ตุลาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มศักยภาพ อสม.ในด้านการดูแลหญิงหลังคลอดและการติดตามเยี่ยมบ้านหลังคลอด วันที่ 4 ตุลาคม ๒๕65
๐๘.๐๐ – ๐8.3๐ น. ลงทะเบียน เปิดพิธี โดย นายกเทศบาลตำบลตอหลัง
๐8.30 – 09.๐๐ น. รายงานสถานการณ์และสภาพปัญหาของโครงการส่งเสริมแม่ เฝ้าระวังลูก เพื่อดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ปี 2565 โดย นางซำซียะห์ อุมาลี
09.๐๐ – ๑2.๐๐ น. บรรยายและทำกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเจ้าหน้าสาธารณสุข อสม. ประเด็นส่งเสริมแม่ เฝ้าระวังลูก เพื่อดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลัง คลอด โดยวิทยากร พร้อมรับประทานอาหารว่าง
๑2.๐0 – ๑3.3๐ น. รับประทานอาหารเที่ยง/ละหมาด
๑3.30 – ๑5.3๐ น. สาธิตการทำเมนูอาหารในหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
15.30 - 15.45 น. ซักถาม ตอบคำถามพร้อมรับประทานอาหารว่าง
15.45 – 16.00 น. แลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนการทำกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อบรมให้กับความรู้หญิงหลังคลอดเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวหลังคลอดและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อย่างน้อย 6 เดือน ผู้เข้าร่วมทั้งหมด 62 คน คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ร้อยละ 100
32
0
4. กิจกรรมจัดอบรมให้กับความรู้หญิงตั้งครรภ์เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์
วันที่ 7 ตุลาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมจัดอบรมให้กับความรู้หญิงตั้งครรภ์เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ วันที่ 6 ตุลาคม ๒๕65
๐๘.๐๐ – ๐8.3๐ น. ลงทะเบียน เปิดพิธี โดย นายกเทศบาลตำบลตอหลัง
๐8.30 – 09.๐๐ น. รายงานสถานการณ์และสภาพปัญหาของโครงการส่งเสริมแม่ เฝ้าระวังลูก เพื่อดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ปี 2565 โดย นางซำซียะห์ อุมาลี
09.๐๐ – ๑2.๐๐ น. บรรยายและทำกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประเด็นส่งเสริมแม่ เฝ้าระวังลูกเพื่อดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดในหญิงตั้งครรภ์ โดยวิทยากร พร้อมรับประทานอาหารว่าง
๑2.๐0 – ๑3.3๐ น. รับประทานอาหารเที่ยง/ละหมาด
๑3.30 – ๑5.3๐ น. สาธิตการทำอาหารเมนูเสริมธาตุเหล็กและอาหารบำรุงนมแม่
15.30 - 15.45 น. ซักถาม ตอบคำถามพร้อมรับประทานอาหารว่าง
15.45 – 16.00 น. แลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนการทำกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กิจกรรมจัดอบรมให้กับความรู้หญิงตั้งครรภ์เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ ผู้เข้าร่วมทั้งหมด 35 คน คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ร้อยละ 100
35
0
5. อบรมให้กับความรู้หญิงหลังคลอดเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวหลังคลอดและการ เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน
วันที่ 10 ตุลาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมจัดกิจกรรมที่ 4 อบรมให้กับความรู้หญิงหลังคลอดเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวหลังคลอดและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อย่างน้อย 6 เดือน วันที่ 7 ตุลาคม ๒๕65
๐๘.๐๐ – ๐8.3๐ น. ลงทะเบียน เปิดพิธี โดย นายกเทศบาลตำบลตอหลัง
๐8.30 – 09.๐๐ น. รายงานสถานการณ์และสภาพปัญหาของโครงการส่งเสริมแม่ เฝ้าระวังลูก เพื่อดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ปี 2565 โดย นางซำซียะห์ อุมาลี
09.๐๐ – ๑2.๐๐ น. บรรยายและทำกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้หญิงหลังคลอด โดยวิทยากร พร้อมรับประทานอาหารว่าง
๑2.๐0 – ๑3.3๐ น. รับประทานอาหารเที่ยง/ละหมาด
๑3.30 – ๑5.3๐ น. สาธิตการทำอาหารเมนูเสริมธาตุเหล็กและอาหารบำรุงนมแม่
15.30 - 15.45 น. ซักถาม ตอบคำถามพร้อมรับประทานอาหารว่าง
15.45 – 16.00 น. แลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนการทำกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อบรมให้กับความรู้หญิงหลังคลอดเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวหลังคลอดและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อย่างน้อย 6 เดือน ผู้เข้าร่วมทั้งหมด 62 คน คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ร้อยละ 100
62
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลการดำเนินงาน
กิจกรรมที่ 1 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเจ้าหน้าที่ อสม.ผู้เข้าร่วมทั้งหมด 40 คน คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ร้อยละ 100
กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มศักยภาพ อสม.ในด้านการดูแลหญิงหลังคลอดและการติดตามเยี่ยมบ้านหลังคลอด ผู้เข้าร่วมทั้งหมด 32 คน คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ร้อยละ 100
กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมจัดอบรมให้กับความรู้หญิงตั้งครรภ์เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ ผู้เข้าร่วมทั้งหมด 35 คน คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ร้อยละ 100
กิจกรรมที่ 4 อบรมให้กับความรู้หญิงหลังคลอดเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวหลังคลอดและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อย่างน้อย 6 เดือน ผู้เข้าร่วมทั้งหมด 62 คน คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ร้อยละ 100
กิจกรรมที่ 5 ส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์ ผู้เข้าร่วมทั้งหมด 35 คน คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ร้อยละ 100
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (เพิ่มขึ้น)
60.00
80.00
80.00
2
เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงฝากครรภ์ ที่สามารถฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง เพิ่มขึ้น
75.00
90.00
90.00
3
เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงคลอด ที่ได้รับการตรวจและเยี่ยมหลังคลอดเพิ่มขึ้น
80.00
100.00
100.00
4
เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของแม่ ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นระยะเวลา 6 เดือน เพิ่มขึ้น
50.00
80.00
80.00
5
เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงวัยเจริญพันธุ์ ที่มีภาวะซีด ลดลง
10.00
5.00
10.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
129
129
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
32
32
กลุ่มผู้สูงอายุ
0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
97
97
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
1) เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
2) เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง
3) เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์
4) เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน
5) เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
กิจกรรมที่ 1 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเจ้าหน้าสาธารณสุข อสม.
กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มศักยภาพ อสม.ในด้านการดูแลหญิงหลังคลอดและการติดตามเยี่ยมบ้านหลังคลอด
กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมจัดอบรมให้กับความรู้หญิงตั้งครรภ์เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์
กิจกรรมที่ 4 อบรมให้กับความรู้หญิงหลังคลอดเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวหลังคลอดและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อย่างน้อย 6 เดือน
กิจกรรมที่ 5 ส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมแม่ เฝ้าระวังลูก เพื่อดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ในปีงบประมาณ 2565 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 65-L3038-01-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวนาฟีซะห์ หาแว ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมแม่ เฝ้าระวังลูก เพื่อดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ในปีงบประมาณ 2565 ”
ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนาฟีซะห์ หาแว ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ธันวาคม 2565
ที่อยู่ ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 65-L3038-01-03 เลขที่ข้อตกลง 10/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมแม่ เฝ้าระวังลูก เพื่อดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ในปีงบประมาณ 2565 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตอหลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมแม่ เฝ้าระวังลูก เพื่อดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ในปีงบประมาณ 2565
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
2) เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง
3) เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์
4) เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน
5) เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
กิจกรรมที่ 1 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเจ้าหน้าสาธารณสุข อสม.
กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มศักยภาพ อสม.ในด้านการดูแลหญิงหลังคลอดและการติดตามเยี่ยมบ้านหลังคลอด
กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมจัดอบรมให้กับความรู้หญิงตั้งครรภ์เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์
กิจกรรมที่ 4 อบรมให้กับความรู้หญิงหลังคลอดเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวหลังคลอดและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อย่างน้อย 6 เดือน
กิจกรรมที่ 5 ส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การพัฒนาประเทศให้มีการเจริญเติบโต แข็งแกร่ง ยั่งยืนในทุกด้าน ประการสำคัญมุ่งเน้นพัฒนาคนเป็นหลัก เพื่อให้ได้คุณภาพชีวิตที่ดีอย่างมีศักยภาพจะต้องเริ่มต้นตั้งแต่ปฏิสนธิในครรภ์เพราะเด็กเป็นรากฐานที่สำคัญในการพัฒนาให้เป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต โดยมารดาและเด็กจะได้รับการดูแล และส่งเสริมสุขภาพตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด หลังคลอด เมื่อเกิดมาแล้วต้องได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสมเพื่อให้เติบโตสมวัยและเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไปในอนาคต แต่ปัจจุบัน ข้อมูลอนามัยแม่และเด็กของตำบลตอหลัง ยังมีปัญหาหลายอย่างที่ต้องได้รับการแก้ไข เช่น พฤติกรรมการดูแลด้านสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง ของหญิงตั้งครรภ์ สามี ญาติ ในขณะตั้งครรภ์การฝากครรภ์ไม่ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพ หญิงตั้งครรภ์มารับการฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์มากกว่า 12 สัปดาห์ และ แม่ตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า 20 ปี ปัญหาเหล่านี้เป็นปัจจัยสำคัญ ที่มีผลต่อสุขภาพทั้งทางกายและจิตใจของมารดาที่ตั้งครรภ์ ส่งผลให้มารดาที่ตั้งครรภ์เจ็บป่วยและคลอดก่อนกำหนด ทารกที่คลอดมีสุขภาพไม่แข็งแรงและมีน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 2,700 กรัม เป็นต้น จากการวิเคราะห์ปัญหาการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตอหลัง ปี 2564 พบว่า มีปัญหาหญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีด ซึ่งเกิดจากการที่หญิงตั้งครรภ์ดูแลตนเองในเรื่องโภชนาการอาหารไม่ดีนักในขณะตั้งครรภ์ รองลงมาคือมีปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,700 กรัม ซึ่งมีสาเหตุมาจากการคลอดก่อนกำหนดการมีภาวะทุพโภชนาการของมารดา และปัญหาหญิงตั้งครรภ์มีภาวะเสี่ยง ซึ่งมีสาเหตุมาจากการแต่งงานตั้งแต่อายุยังน้อยและไม่ได้คุมกำเนิดและปัญหาการฝากครรภ์ครั้งแรก เมื่ออายุครรภ์มากกว่า 12 สัปดาห์ และการฝากครรภ์ไม่ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ จากสภาพปัญหา การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กดังกล่าว จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือและการมีส่วนร่วมดำเนินงาน เพื่อดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตอหลัง ตำบลตอหลัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาที่เกิดขึ้นในหญิงตั้งครรภ์ และหญิงหลังคลอดทารกแรกเกิด เพื่อให้ลดปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นในหญิงตั้งครรภ์ และให้ทารกที่คลอดมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง มีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัย เติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของประเทศชาติต่อไป จึงได้จัดทำโครงการดูแลส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดอย่างมีคุณภาพ ประจำปี 2565 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
- เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง
- เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์
- เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน
- เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเจ้าหน้าสาธารณสุข อสม.
- กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มศักยภาพ อสม.ในด้านการดูแลหญิงหลังคลอดและการติดตามเยี่ยมบ้านหลังคลอด
- กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมจัดอบรมให้กับความรู้หญิงตั้งครรภ์เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์
- กิจกรรมที่ 4 อบรมให้กับความรู้หญิงหลังคลอดเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวหลังคลอดและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อย่างน้อย 6 เดือน
- กิจกรรมที่ 5 ส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์
- อบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มศักยภาพ อสม.ในด้านการดูแลหญิงหลังคลอดและ การติดตามเยี่ยมบ้านหลังคลอด
- กิจกรรมจัดอบรมให้กับความรู้หญิงตั้งครรภ์เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์
- อบรมให้กับความรู้หญิงหลังคลอดเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวหลังคลอดและการ เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน
- ส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์
- กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเจ้าหน้าสาธารณสุข อสม.
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 32 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 97 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ ร้อยละ ๘๐
2.อาสาสมัครมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับติดตามดูแลหญิงตั้งครรภ์
3.หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลการตั้งครรภ์และการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อย่างน้อย 6 เดือน
4.ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักตัวไม่ต่ำกว่า 2,700 กรัม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์ |
||
วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ออกติดตามเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด ร่วมกับอาสาสมัครในการดูแลหญิง ตั้งครรภ์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์ ผู้เข้าร่วมทั้งหมด 35 คน คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ร้อยละ 100
|
35 | 0 |
2. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเจ้าหน้าสาธารณสุข อสม. |
||
วันที่ 4 ตุลาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำกิจกรรมที่ 1 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเจ้าหน้าสาธารณสุข อสม. วันที่ 3 ตุลาคม ๒๕65
๐๙.๐0 – ๑๐.๐๐ น. รายงานสถานการณ์และสภาพปัญหาของโครงการส่งเสริมแม่ เฝ้าระวังลูก เพื่อดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ปี 2565 โดย นางซำซียะห์ อุมาลี ๑๐.๐0 – ๑๑.๐๐ น. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเจ้าหน้าสาธารณสุข อสม. ประเด็นส่งเสริมแม่ เฝ้าระวังลูก เพื่อดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลัง คลอด พร้อมรับประทานอาหารว่าง ๑1.๐0 – ๑2.๐๐ น. แลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนการทำกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเจ้าหน้าที่ อสม.ผู้เข้าร่วมทั้งหมด 40 คน คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ร้อยละ 100
|
40 | 0 |
3. อบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มศักยภาพ อสม.ในด้านการดูแลหญิงหลังคลอดและ การติดตามเยี่ยมบ้านหลังคลอด |
||
วันที่ 6 ตุลาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำกิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มศักยภาพ อสม.ในด้านการดูแลหญิงหลังคลอดและการติดตามเยี่ยมบ้านหลังคลอด วันที่ 4 ตุลาคม ๒๕65
๐8.30 – 09.๐๐ น. รายงานสถานการณ์และสภาพปัญหาของโครงการส่งเสริมแม่ เฝ้าระวังลูก เพื่อดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ปี 2565 โดย นางซำซียะห์ อุมาลี 09.๐๐ – ๑2.๐๐ น. บรรยายและทำกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเจ้าหน้าสาธารณสุข อสม. ประเด็นส่งเสริมแม่ เฝ้าระวังลูก เพื่อดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลัง คลอด โดยวิทยากร พร้อมรับประทานอาหารว่าง ๑2.๐0 – ๑3.3๐ น. รับประทานอาหารเที่ยง/ละหมาด ๑3.30 – ๑5.3๐ น. สาธิตการทำเมนูอาหารในหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 15.30 - 15.45 น. ซักถาม ตอบคำถามพร้อมรับประทานอาหารว่าง 15.45 – 16.00 น. แลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนการทำกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอบรมให้กับความรู้หญิงหลังคลอดเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวหลังคลอดและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อย่างน้อย 6 เดือน ผู้เข้าร่วมทั้งหมด 62 คน คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ร้อยละ 100
|
32 | 0 |
4. กิจกรรมจัดอบรมให้กับความรู้หญิงตั้งครรภ์เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ |
||
วันที่ 7 ตุลาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำกิจกรรมที่ 3 กิจกรรมจัดอบรมให้กับความรู้หญิงตั้งครรภ์เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ วันที่ 6 ตุลาคม ๒๕65
๐8.30 – 09.๐๐ น. รายงานสถานการณ์และสภาพปัญหาของโครงการส่งเสริมแม่ เฝ้าระวังลูก เพื่อดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ปี 2565 โดย นางซำซียะห์ อุมาลี 09.๐๐ – ๑2.๐๐ น. บรรยายและทำกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประเด็นส่งเสริมแม่ เฝ้าระวังลูกเพื่อดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดในหญิงตั้งครรภ์ โดยวิทยากร พร้อมรับประทานอาหารว่าง ๑2.๐0 – ๑3.3๐ น. รับประทานอาหารเที่ยง/ละหมาด ๑3.30 – ๑5.3๐ น. สาธิตการทำอาหารเมนูเสริมธาตุเหล็กและอาหารบำรุงนมแม่ 15.30 - 15.45 น. ซักถาม ตอบคำถามพร้อมรับประทานอาหารว่าง 15.45 – 16.00 น. แลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนการทำกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกิจกรรมจัดอบรมให้กับความรู้หญิงตั้งครรภ์เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ ผู้เข้าร่วมทั้งหมด 35 คน คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ร้อยละ 100
|
35 | 0 |
5. อบรมให้กับความรู้หญิงหลังคลอดเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวหลังคลอดและการ เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน |
||
วันที่ 10 ตุลาคม 2565 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำกิจกรรมจัดกิจกรรมที่ 4 อบรมให้กับความรู้หญิงหลังคลอดเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวหลังคลอดและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อย่างน้อย 6 เดือน วันที่ 7 ตุลาคม ๒๕65
๐8.30 – 09.๐๐ น. รายงานสถานการณ์และสภาพปัญหาของโครงการส่งเสริมแม่ เฝ้าระวังลูก เพื่อดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ปี 2565 โดย นางซำซียะห์ อุมาลี 09.๐๐ – ๑2.๐๐ น. บรรยายและทำกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้หญิงหลังคลอด โดยวิทยากร พร้อมรับประทานอาหารว่าง ๑2.๐0 – ๑3.3๐ น. รับประทานอาหารเที่ยง/ละหมาด ๑3.30 – ๑5.3๐ น. สาธิตการทำอาหารเมนูเสริมธาตุเหล็กและอาหารบำรุงนมแม่ 15.30 - 15.45 น. ซักถาม ตอบคำถามพร้อมรับประทานอาหารว่าง 15.45 – 16.00 น. แลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนการทำกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอบรมให้กับความรู้หญิงหลังคลอดเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวหลังคลอดและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อย่างน้อย 6 เดือน ผู้เข้าร่วมทั้งหมด 62 คน คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ร้อยละ 100
|
62 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลการดำเนินงาน
กิจกรรมที่ 1 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเจ้าหน้าที่ อสม.ผู้เข้าร่วมทั้งหมด 40 คน คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ร้อยละ 100
กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มศักยภาพ อสม.ในด้านการดูแลหญิงหลังคลอดและการติดตามเยี่ยมบ้านหลังคลอด ผู้เข้าร่วมทั้งหมด 32 คน คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ร้อยละ 100
กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมจัดอบรมให้กับความรู้หญิงตั้งครรภ์เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ ผู้เข้าร่วมทั้งหมด 35 คน คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ร้อยละ 100
กิจกรรมที่ 4 อบรมให้กับความรู้หญิงหลังคลอดเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวหลังคลอดและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อย่างน้อย 6 เดือน ผู้เข้าร่วมทั้งหมด 62 คน คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ร้อยละ 100
กิจกรรมที่ 5 ส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์ ผู้เข้าร่วมทั้งหมด 35 คน คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ร้อยละ 100
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (เพิ่มขึ้น) |
60.00 | 80.00 | 80.00 |
|
2 | เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงฝากครรภ์ ที่สามารถฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง เพิ่มขึ้น |
75.00 | 90.00 | 90.00 |
|
3 | เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์ ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงคลอด ที่ได้รับการตรวจและเยี่ยมหลังคลอดเพิ่มขึ้น |
80.00 | 100.00 | 100.00 |
|
4 | เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน ตัวชี้วัด : ร้อยละของแม่ ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นระยะเวลา 6 เดือน เพิ่มขึ้น |
50.00 | 80.00 | 80.00 |
|
5 | เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงวัยเจริญพันธุ์ ที่มีภาวะซีด ลดลง |
10.00 | 5.00 | 10.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 129 | 129 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 32 | 32 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 97 | 97 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
2) เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง
3) เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์
4) เพื่อส่งเสริมแม่ที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ระยะเวลา 6 เดือน
5) เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
กิจกรรมที่ 1 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเจ้าหน้าสาธารณสุข อสม.
กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มศักยภาพ อสม.ในด้านการดูแลหญิงหลังคลอดและการติดตามเยี่ยมบ้านหลังคลอด
กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมจัดอบรมให้กับความรู้หญิงตั้งครรภ์เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์
กิจกรรมที่ 4 อบรมให้กับความรู้หญิงหลังคลอดเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวหลังคลอดและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อย่างน้อย 6 เดือน
กิจกรรมที่ 5 ส่งเสริมภาวะโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมแม่ เฝ้าระวังลูก เพื่อดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ในปีงบประมาณ 2565 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 65-L3038-01-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวนาฟีซะห์ หาแว ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......