กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร


“ โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในเขตตำบลผดุงมาตร ปี 2566 ”

ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลผดุงมาตร

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในเขตตำบลผดุงมาตร ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2477-1-04 เลขที่ข้อตกลง 02/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในเขตตำบลผดุงมาตร ปี 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในเขตตำบลผดุงมาตร ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในเขตตำบลผดุงมาตร ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2477-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 46,709.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ ในแต่ละปีมีผู้ป่วยและตายด้วยโรคไข้เลือดออกเป็นจำนวนมากก่อให้เกิดความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจและสังคม รัฐบาลจึงได้เล็งเห็นความสำคัญ และได้นำปัญหาโรคไข้เลือดออกมากำหนดเป็นนโยบายในการดำเนินงานโดยที่สถานบริการสุขภาพทุกแห่งร่วมมือกับองค์กรชุมชนดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยมีการควบคุมโรคการรณรงค์ให้กำจัดยุงลายทุกๆ 7 วัน และมีการป้องกันและควบคุมป้องกันโรคที่ยั่งยืนตามมาตรการ 5 ป 1 ข (ปิดฝาชนะที่มีน้ำขัง เปลี่ยนภาชนะรองรับน้ำทุกสัปดาห์ ปล่อยปลากินลูกน้ำ ปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ปฏิบัติเป็นประจำ ขัดล้างภาชนะรองรับน้ำทุกสัปดาห์ )ไข้เลือดออกได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่องทุกปี แต่อัตราป่วยและอัตราตายก็ยังไม่ลดลงเท่าที่ควร จากข้อมูลผลการดำเนินงานควบคุมโรคไข้เลือดออกของตำบลผดุงมาตรในปี พ.ศ. 2561-2565 พบว่ามีอัตราป่วยเท่ากับ 146.01,81.11, 162.25 ,74.38 และ 59.50 ตามลำดับ แสดงให้เห็นว่าการดำเนินงานควบคุมโรคไข้เลือดออกในปีที่ผ่านมายังไม่สามารถควบคุมและหยุดยั้งการระบาดของโรคได้ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดำเนินการควบคุมอย่างต่อเนื่องทุกปี ประกอบกับสถานการณ์ปัจจุบันพบว่าโรคไข้เลือดออกมีการแพร่ระบาดในพื้นที่ใกล้เคียงในอัตราที่สูงและต่อเนื่อง สามารถแพร่ระบาดในพื้นที่ตำบลผดุงมาตรมาตรได้ตลอดเวลา ซึ่งอาจส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อระบบสุขภาพ เศรษฐกิจและสังคมของประชาชนในพื้นที่ได้ จากหลักการและเหตุผลดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลผดุงมาตรจึงมีแนวคิดที่จะแก้ไขปัญหาเพื่อควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกให้ครอบคลุมทุกหลังคาเรือนและทุกหมู่บ้านในเขตตำบลผดุงมาตร แนวทางหนึ่งที่จะช่วยให้การดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างได้ผล คือการกระตุ้นให้ประชาชนตระหนักถึงอันตรายที่เกิดจากโรคไข้เลือดออกโดยการอบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกรวมทั้งรณรงค์ให้มีการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายทุก 7 วัน และร่วมมือในการควบคุมป้องกันโรคตามมาตรการ 5 ป 1 ข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลผดุงมาตร จึงได้จัดทำโครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลผดุงมาตร ปี 2566 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อควบคุมและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุง และลดอัตราการป่วยของโรคไข้เลือดออก
  2. เพื่อกำจัดยุงพาหะของโรคและป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชาสัมพันธ์รณรงค์การป้องกันโรคไข้เลือดออก
  2. กิจกรรมทำลายยุงตัวแก่โดยการพ่นหมอกควันในชุมชนในโรงเรียนและสถานที่ราชการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 6,775
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ควบคุมและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุง และลดอัตราการป่วยของโรคไข้เลือดออก 2.กำจัดยุงพาหะของโรคและป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออก 3.กระตุ้นให้ประชาชนตื่นตัวและเฝ้าระวังในการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรคติดต่อที่นำโดยแมลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมทำลายยุงตัวแก่โดยการพ่นหมอกควันในชุมชนในโรงเรียนและสถานที่ราชการ

วันที่ 25 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ทำลายยุงตัวแก่โดยการพ่นหมอกควันในชุมชน โรงเรียนและสถานที่ราชการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการดำเนินงานพ่นหมอกควันกำจัดยุงลายตัวแก่ในชุมชน มีความครอบคลุมคิดเป็นร้อยละ 99.61 ของหลังคาเรือนทั้งหมดในพื้นที่ ซึ่งการดำเนินงานไม่สามารถทำได้ ร้อยละ 100 เนื่องจากว่า  เจ้าของบ้านบางรายไม่ให้ความร่วมมือในการพ่นหมอกควันข้างในบ้านเพราะเกรงว่าหมอกควันเป็นสารพิษอันตรายต่อสัตว์เลี้ยง แม้ว่าได้รับคำแนะนำแล้วก็ตาม การพ่นหมอกควันตามสถานที่ต่างๆ - จำนวนโรงเรียนทั้งหมด  3  โรง  พ่นหมอกควัน  3  โรง  คิดเป็นร้อยละ  100 - จำนวนมัสยิดทั้งหมด  7 แห่ง  พ่นหมอกควัน 7  แห่ง  คิดเป็นร้อยละ  100 - จำนวนโรงเรียนตาดีกาทั้งหมด 6 โรง  พ่นหมอกควัน 6  โรง  คิดเป็นร้อยละ  100 - จำนวนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั้งหมด 4 ศูนย์  พ่นหมอกควัน  4  ศูนย์  คิดเป็นร้อยละ  100 - จำนวนสถานที่ราชการทั้งหมด  3  แห่ง  พ่นหมอกควัน  3  แห่ง  คิดเป็นร้อยละ  100

 

0 0

2. กิจกรรมประชาสัมพันธ์รณรงค์การป้องกันโรคไข้เลือดออก

วันที่ 14 กรกฎาคม 2566 เวลา 15:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้แก่ประชาชนทั่วไป ผู้นำชุมชน เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก ร่วมกันสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน ร่วมทำ Big cleaning ในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก ลดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำน้ำยุงลาย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ดำเนินการเสร็จสิ้น

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อควบคุมและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุง และลดอัตราการป่วยของโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 50 ต่อประชากรแสนคน
59.50 45.00

 

2 เพื่อกำจัดยุงพาหะของโรคและป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : กำจัดยุงพาหะของโรคไข้เลือดออก
99.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 6775 6775
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 6,775 6,775
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อควบคุมและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุง และลดอัตราการป่วยของโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อกำจัดยุงพาหะของโรคและป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชาสัมพันธ์รณรงค์การป้องกันโรคไข้เลือดออก (2) กิจกรรมทำลายยุงตัวแก่โดยการพ่นหมอกควันในชุมชนในโรงเรียนและสถานที่ราชการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในเขตตำบลผดุงมาตร ปี 2566 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2477-1-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลผดุงมาตร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด