กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร


“ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ผดุงมาตร ปี 2566 ”

ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวญาฮีด๊ะ มะรือโบอูมา

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ผดุงมาตร ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2477-4-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ผดุงมาตร ปี 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ผดุงมาตร ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ผดุงมาตร ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2477-4-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 85,309.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระบบท้องถิ่นหรือพื้นที่ นับเป็นนวัตกรรมทางสังคมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทย มุ่งเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีบทบาทสำคัญในการประสานหน่วยงาน องค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ รวมถึงสนับสนุนให้ประชาชนได้แสดงบทบาทในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ และส่งเสริมให้บุคลากรด้านสาธารณสุขในพื้นที่ได้แสดงบทบาทในการสนับสนุนประชาชนในการดูแลสุขภาพตนเอง ทั้งนี้ยังส่งเสริมให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกิดความตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน สามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเอง จากการดำเนินงานที่ผ่านมา กองทุนอบต.ผดุงมาตร ได้มีการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการกองทุนฯ จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนและอนุกรรมการกองทุนฯ อีกทั้งยังสนับสนุน ส่งเสริมให้หน่วยบริการ สถานบริการ หน่วยงานสาธารณสุข หรือหน่วยงานอื่น มีการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสุขภาพในกลุ่มวัยต่างๆ ให้สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลผดุงมาตร บรรลุตามวัตถุประสงค์ของกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ผดุงมาตร ปี 2566 เพื่อเป็นการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการและพัฒนาศักยภาพกองทุน ให้สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี
  2. เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ
  3. เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพองค์กรผู้รับทุน
  2. ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1/2565
  3. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ 1/2566
  4. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะอนุกรรมการกองทุนฯ
  5. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ
  6. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ 3/2566
  7. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ 4/2566
  8. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ 2/2566
  9. ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวฯ (LTC) ครั้งที่ 1/2566
  10. ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวฯ (LTC) ครั้งที่ 2/2566
  11. จัดทำแผนสุขภาพชุมชน ปี 2567
  12. ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 2/2566
  13. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ 2/2566

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 59

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • ประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกได้รับการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
  • การดำเนินงานกองทุนมีประสิทธิภาพมากขึ้น
  • คณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ มีการประชุมครบตามประกาศ
  • หน่วยงานที่ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ รายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ ครบถ้วน สมบูรณ์

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1/2566

วันที่ 25 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินการประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ผดุงมาตร
1.คณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ผดุงมาตร จำนวน 9 คน 2.หน่วยรับทุนที่ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ผดุงมาตร จำนวน 12 คน -มีการพิจารณาโครงการที่ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25 โครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ผลการพิจารณากลั่นกรองโครงการจากคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ผดุงมาตร

 

21 0

2. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ 1/2566

วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การดำเนินงานพิจารณาอนุมัติตามแผนงาน/โครงการ ประจำปีงบประมาณ 2566 1.คณะกรรมการกองทุนฯเข้าร่วมประชุม จำนวน 20 คน เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานกองทุนฯ จำนวน 3 คน หน่วยรับทุนฯ จำนวน 15 คน
2.โครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนฯ ประจำปี 2566 จำนวน 21 โครงการ 3.ได้ดำเนินการคัดเลือกคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ผดุงมาตร เพื่อเป็นคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง Long Term Care (LTC) จำนวนสองคน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.คณะกรรมการกองทุนฯเข้าร่วมประชุม จำนวน 16 คน เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานกองทุนฯ จำนวน 2 คน หน่วยรับทุนฯ จำนวน 10 คน ผู้เข้าร่วมประชุม 6 คน ไม่เข้าร่วมประชุม เนื่องจากติดภารกิจ ประกอบด้วย คณะกรรมการกองทุนฯ จำนวน 4 คน เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานกองทุนฯ จำนวน 1 คน หน่วยรับทุนฯ จำนวน 5 คน
2.ได้รับการอนุมัติโครงการจากคณะกรรมการกองทุนฯ จำนวน 21 โครงการ
3.ได้คัดเลือก 1.นางสาวอาซีหยัน ดอเล๊าะ กรรมการกองทุนฯ เป็นคณะกรรมการ LTC         2.นางสาวดายานา ซูยี กรรมการกองทุนฯ เป็นคณะกรรมการ LTC

 

0 0

3. ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 2/2566

วันที่ 3 กรกฎาคม 2566 เวลา 10:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ดำเนินการประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ผดุงมาตร เพื่อพิจารณาโครงการ ที่หน่วยรับทุนขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลผดุงมาตร จำนวน 1 โครงการ ประกอบด้วย
1.1 คณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ผดุงมาตร ดังนี้   (1) เข้าร่วมประชุม จำนวน 8 คน   (2) ไม่เข้าร่วมประชุม จำนวน 1 คน เนื่องจากติดภารกิจ 1.2 หน่วยรับทุน จำนวน 1 คน 1.3 ได้ดำเนินการประชุมพิจารณาโครงการดังกล่าว เสร็จสิ้นเป็นที่เรียบร้อย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ได้มีการพิจารณาโครงการ ตามที่หน่วยรับทุนขอรับการสนับสนุนงบประมาณ จำนวน 1 โครงการ

 

10 0

4. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ 2/2566

วันที่ 6 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

การดำเนินงานพิจารณาอนุมัติตามแผนงาน/โครงการ ประจำปีงบประมาณ 2566 1.คณะกรรมการกองทุนฯเข้าร่วมประชุม จำนวน 20 คน เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานกองทุนฯ จำนวน 3 คน หน่วยรับทุนฯ จำนวน 2 คน
2.โครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนฯ ครั้งที่ 2 ประจำปี 2566 จำนวน 1 โครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.คณะกรรมการกองทุนฯเข้าร่วมประชุม จำนวน 12 คน เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานกองทุนฯ จำนวน 3 คน หน่วยรับทุนฯ จำนวน 1 คน ผู้เข้าร่วมประชุม 8 คน ไม่เข้าร่วมประชุม เนื่องจากติดภารกิจ ประกอบด้วย คณะกรรมการกองทุนฯ จำนวน 8 คน
2.ได้รับการอนุมัติโครงการจากคณะกรรมการกองทุนฯ จำนวน 1 โครงการ

 

0 0

5. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ 3/2566

วันที่ 28 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.คณะกรรมการ จำนวน 20 คน   - ค่าตอบแทน จำนวน 20 คนๆละ 400 บาท เป็นเงิน 8000 บาท 2.เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานกองทุนฯ จำนวน 5 คน   - ค่าตอบแทน จำนวน 5 คนๆละ 400 บาท เป็นเงิน 2000 บาท 3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 25 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน 625 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 10625 บาท 4.ดำเนินการแนะนำคณะกรรมการคนใหม่ แทนคนที่เสียชีวิต จำนวน 1 คน
5.ดำเนินการสรุปข้อมูลการดำเนินงาน 6.สรุปโครงการที่ดำเนินการเสร็จสิ้นส่งมายังกองทุนฯ ปี 2566 7.ดำเนินการแผนการเงิน ปี 2567 8.อนุมัติโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ผดุงมาตร ปีงบประมาณ 2567

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.คณะกรรมการ จำนวน 20 คน   - ได้เข้าร่วมประชุม จำนวน 18 คน ๆละ 400 บาท เป็นเงิน 7200 บาท 2.เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานกองทุนฯ จำนวน 5 คน   - ได้เข้าร่วมประชุม จำนวน 3 คน ๆละ 400 บาท เป็นเงิน 1200 บาท 3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 25 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน 625 บาท 4.ได้คืนเงินค่าตอบแทน จำนวน 4 คน ๆละ 400 บาท เป็นเงิน 1600 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 9025 บาท 5.ชื่อนายอับดุลรอยะ เจ๊ะหะ แทน นายเจ๊ะสือมัน ยูโซ๊ะ เนื่องจากเสียชีวิตด้วยโรคประจำตัว วันที่ 6 สิงหาคม 2566 6.สรุปข้อมูลรายรับและข้อมูลรายจ่ายของกองทุนฯ ปี 2566
7.สรุปโครงการที่ดำเนินการเสร็จสิ้น จำนวน 22 โครงการ
8.คณะกรรมการได้ดำเนินการอนุมัติแผนการเงิน ปี 2567 9.คณะกรรมการอนุมัติโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ผดุงมาตร ประจำปีงบประมาณ 2567

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี
ตัวชี้วัด : จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ)
20.00 20.00

 

2 เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ
ตัวชี้วัด : จำนวนครั้งของประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ
4.00 4.00

 

3 เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการ(กลุ่ม/หน่วยงาน)
10.00 10.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 59
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 59

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี (2) เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ (3) เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมพัฒนาศักยภาพองค์กรผู้รับทุน (2) ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1/2565 (3) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ 1/2566 (4) กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะอนุกรรมการกองทุนฯ (5) กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ (6) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ 3/2566 (7) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ 4/2566 (8) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ 2/2566 (9) ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวฯ (LTC) ครั้งที่ 1/2566 (10) ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวฯ (LTC) ครั้งที่ 2/2566 (11) จัดทำแผนสุขภาพชุมชน ปี 2567 (12) ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 2/2566 (13) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ 2/2566

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ผดุงมาตร ปี 2566 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2477-4-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวญาฮีด๊ะ มะรือโบอูมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด