ป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในวัยรุ่นวัยใส
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในวัยรุ่นวัยใส ”
ตำบลกอตอตือร๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางเจ๊ะวารี หะมีแย
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กอตอตือร๊ะ
มิถุนายน 2566
ชื่อโครงการ ป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในวัยรุ่นวัยใส
ที่อยู่ ตำบลกอตอตือร๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 66-L4152-2-09 เลขที่ข้อตกลง 05/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 มิถุนายน 2566 ถึง 9 มิถุนายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"ป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในวัยรุ่นวัยใส จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกอตอตือร๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กอตอตือร๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในวัยรุ่นวัยใส
บทคัดย่อ
โครงการ " ป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในวัยรุ่นวัยใส " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกอตอตือร๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L4152-2-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 มิถุนายน 2566 - 9 มิถุนายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กอตอตือร๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
“การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น” กรมอนามัยได้กำหนดนิยาม หมายถึง จำนวนการคลอดบุตรมีชีวิตของหญิงอายุ 15-19 ปี หรือ 10-14 ปี ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเป็นเรื่องที่ทั่วโลกให้ความสำคัญ โดยองค์การสหประชาชาติได้กำหนดให้การลดอัตราการคลอดในวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี (Adolescent birth rate) เป็นหนึ่งในตัวชี้วัดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนที่นานาชาติต้องบรรลุให้ได้ภายในปี พ.ศ.2573 โดยได้กำหนดให้ การลดอัตราการคลอดในวัยรุ่นอายุ 10-14 ปี และอายุ 15-19 ปี เป็นหนึ่งในการบรรลุเป้าหมายที่3 ว่าด้วย การสร้างหลักประกันให้คนมีชีวิตที่มีคุณภาพและส่งเสริมสุขภาวะที่ดีของคนทุกเพศทุกวัย การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นไม่เพียงแต่เป็นปัญหาด้านสุขภาพ แต่ยังเป็นปัญหาด้านประชากรที่ส่งผลต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศอีกด้วย
สถานการณ์ในตำบลกอตอตือร๊ะ มีจำนวนการตั้งครรภ์ในหญิงอายุ 15 - 19 ปี ในปี 2560-2566จำนวน 10 คน ซึ่งมีทั้งการคลอดก่อนและหลังการสมรส โดยส่วนหนึ่งเป็น การตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ของวัยรุ่น ทั้งนี้เกิดจากวัยรุ่นบางส่วนยังขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเรื่องเพศศึกษา ประกอบกับขาดการดูแลและชี้แนะในสิ่งที่เหมาะสมจากครอบครัว รวมถึงความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทำให้เยาวชนถูกกระตุ้นด้วยสิ่งเร้า เช่น สื่อในโลกอินเตอร์เน็ต สิ่งเหล่านี้มีผลทำให้เยาวชนเกิดพฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสม เช่น การมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร และการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย การขาดวุฒิภาวะและทักษะในการควบคุมอารมณ์ทางเพศของตนเอง จึงอาจส่งผลให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์หรือการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เป็นผลให้เกิดปัญหาสังคมต่างๆ ตามมา ซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิตของเด็กและครอบครัวอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับเพศศึกษา การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรให้แก่เยาวชน
- เพื่อให้กลุ่มวัยรุ่นมีทักษะชีวิตในการป้องกันตัวเอง ทักษะการคิด การวิเคราะห์ ทักษะการต่อรอง ทักษะการปฏิเสธ และมีความมั่นใจในตัวเองในการป้องกันท้องไม่พร้อม
- เพื่อเสริมสร้างความภาคภูมิใจในตนเองของวัยรุ่นและให้มีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทักษะด้านเพศศึกษา
- เพื่อส่งเสริมพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีทักษะการใช้ชีวิตเพื่อเป็นเกาะป้องกันไม่ให้เกิดการตั้งครรภ์ก่อนวันอันควร
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
160
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
8.1 เด็กและเยาวชนได้รับองค์ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับเพศศึกษา การป้องกันโรคติดต่อ ทางเพศสัมพันธ์ และการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรให้แก่เยาวชน
8.2 กลุ่มวัยรุ่นมีทักษะชีวิตในการป้องกันตัวเอง ทักษะการคิด การวิเคราะห์ ทักษะการต่อรอง ทักษะการปฏิเสธ และมีความมั่นใจในตัวเองในการป้องกันท้องไม่พร้อม
8.3 มีความภาคภูมิใจในตนเองของวัยรุ่นและมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต
8.4 เด็กและเยาวชนได้มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทักษะด้านเพศศึกษา
8.5 เด็กและเยาวชนได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีทักษะการใช้ชีวิตเพื่อเป็นเกาะป้องกันไม่ให้เกิดการตั้งครรภ์ก่อนวันอันควร
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับเพศศึกษา การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรให้แก่เยาวชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับเพศศึกษา การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรให้แก่เยาวชน
2
เพื่อให้กลุ่มวัยรุ่นมีทักษะชีวิตในการป้องกันตัวเอง ทักษะการคิด การวิเคราะห์ ทักษะการต่อรอง ทักษะการปฏิเสธ และมีความมั่นใจในตัวเองในการป้องกันท้องไม่พร้อม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะชีวิตในการป้องกันตัวเอง ทักษะการคิด การวิเคราะห์ ทักษะการต่อรอง ทักษะการปฏิเสธ และมีความมั่นใจในตัวเองในการป้องกันท้องไม่พร้อม
3
เพื่อเสริมสร้างความภาคภูมิใจในตนเองของวัยรุ่นและให้มีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต
4
เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทักษะด้านเพศศึกษา
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเด็กและเยาวชนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทักษะด้านเพศศึกษา
5
เพื่อส่งเสริมพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีทักษะการใช้ชีวิตเพื่อเป็นเกาะป้องกันไม่ให้เกิดการตั้งครรภ์ก่อนวันอันควร
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะการใช้ชีวิตเพื่อเป็นเกราะป้องกันไม่ให้เกิดการตั้งครรภ์ก่อนวันอันควร
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
160
160
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
160
160
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับเพศศึกษา การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรให้แก่เยาวชน (2) เพื่อให้กลุ่มวัยรุ่นมีทักษะชีวิตในการป้องกันตัวเอง ทักษะการคิด การวิเคราะห์ ทักษะการต่อรอง ทักษะการปฏิเสธ และมีความมั่นใจในตัวเองในการป้องกันท้องไม่พร้อม (3) เพื่อเสริมสร้างความภาคภูมิใจในตนเองของวัยรุ่นและให้มีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต (4) เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทักษะด้านเพศศึกษา (5) เพื่อส่งเสริมพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีทักษะการใช้ชีวิตเพื่อเป็นเกาะป้องกันไม่ให้เกิดการตั้งครรภ์ก่อนวันอันควร
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในวัยรุ่นวัยใส จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 66-L4152-2-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางเจ๊ะวารี หะมีแย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในวัยรุ่นวัยใส ”
ตำบลกอตอตือร๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางเจ๊ะวารี หะมีแย
มิถุนายน 2566
ที่อยู่ ตำบลกอตอตือร๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 66-L4152-2-09 เลขที่ข้อตกลง 05/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 มิถุนายน 2566 ถึง 9 มิถุนายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"ป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในวัยรุ่นวัยใส จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกอตอตือร๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กอตอตือร๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในวัยรุ่นวัยใส
บทคัดย่อ
โครงการ " ป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในวัยรุ่นวัยใส " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกอตอตือร๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L4152-2-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 มิถุนายน 2566 - 9 มิถุนายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กอตอตือร๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
“การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น” กรมอนามัยได้กำหนดนิยาม หมายถึง จำนวนการคลอดบุตรมีชีวิตของหญิงอายุ 15-19 ปี หรือ 10-14 ปี ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเป็นเรื่องที่ทั่วโลกให้ความสำคัญ โดยองค์การสหประชาชาติได้กำหนดให้การลดอัตราการคลอดในวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี (Adolescent birth rate) เป็นหนึ่งในตัวชี้วัดเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนที่นานาชาติต้องบรรลุให้ได้ภายในปี พ.ศ.2573 โดยได้กำหนดให้ การลดอัตราการคลอดในวัยรุ่นอายุ 10-14 ปี และอายุ 15-19 ปี เป็นหนึ่งในการบรรลุเป้าหมายที่3 ว่าด้วย การสร้างหลักประกันให้คนมีชีวิตที่มีคุณภาพและส่งเสริมสุขภาวะที่ดีของคนทุกเพศทุกวัย การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นไม่เพียงแต่เป็นปัญหาด้านสุขภาพ แต่ยังเป็นปัญหาด้านประชากรที่ส่งผลต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศอีกด้วย สถานการณ์ในตำบลกอตอตือร๊ะ มีจำนวนการตั้งครรภ์ในหญิงอายุ 15 - 19 ปี ในปี 2560-2566จำนวน 10 คน ซึ่งมีทั้งการคลอดก่อนและหลังการสมรส โดยส่วนหนึ่งเป็น การตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ของวัยรุ่น ทั้งนี้เกิดจากวัยรุ่นบางส่วนยังขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเรื่องเพศศึกษา ประกอบกับขาดการดูแลและชี้แนะในสิ่งที่เหมาะสมจากครอบครัว รวมถึงความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทำให้เยาวชนถูกกระตุ้นด้วยสิ่งเร้า เช่น สื่อในโลกอินเตอร์เน็ต สิ่งเหล่านี้มีผลทำให้เยาวชนเกิดพฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสม เช่น การมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร และการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย การขาดวุฒิภาวะและทักษะในการควบคุมอารมณ์ทางเพศของตนเอง จึงอาจส่งผลให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์หรือการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เป็นผลให้เกิดปัญหาสังคมต่างๆ ตามมา ซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิตของเด็กและครอบครัวอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับเพศศึกษา การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรให้แก่เยาวชน
- เพื่อให้กลุ่มวัยรุ่นมีทักษะชีวิตในการป้องกันตัวเอง ทักษะการคิด การวิเคราะห์ ทักษะการต่อรอง ทักษะการปฏิเสธ และมีความมั่นใจในตัวเองในการป้องกันท้องไม่พร้อม
- เพื่อเสริมสร้างความภาคภูมิใจในตนเองของวัยรุ่นและให้มีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทักษะด้านเพศศึกษา
- เพื่อส่งเสริมพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีทักษะการใช้ชีวิตเพื่อเป็นเกาะป้องกันไม่ให้เกิดการตั้งครรภ์ก่อนวันอันควร
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 160 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
8.1 เด็กและเยาวชนได้รับองค์ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับเพศศึกษา การป้องกันโรคติดต่อ ทางเพศสัมพันธ์ และการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรให้แก่เยาวชน 8.2 กลุ่มวัยรุ่นมีทักษะชีวิตในการป้องกันตัวเอง ทักษะการคิด การวิเคราะห์ ทักษะการต่อรอง ทักษะการปฏิเสธ และมีความมั่นใจในตัวเองในการป้องกันท้องไม่พร้อม 8.3 มีความภาคภูมิใจในตนเองของวัยรุ่นและมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต 8.4 เด็กและเยาวชนได้มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทักษะด้านเพศศึกษา 8.5 เด็กและเยาวชนได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีทักษะการใช้ชีวิตเพื่อเป็นเกาะป้องกันไม่ให้เกิดการตั้งครรภ์ก่อนวันอันควร
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับเพศศึกษา การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรให้แก่เยาวชน ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับเพศศึกษา การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรให้แก่เยาวชน |
|
|||
2 | เพื่อให้กลุ่มวัยรุ่นมีทักษะชีวิตในการป้องกันตัวเอง ทักษะการคิด การวิเคราะห์ ทักษะการต่อรอง ทักษะการปฏิเสธ และมีความมั่นใจในตัวเองในการป้องกันท้องไม่พร้อม ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะชีวิตในการป้องกันตัวเอง ทักษะการคิด การวิเคราะห์ ทักษะการต่อรอง ทักษะการปฏิเสธ และมีความมั่นใจในตัวเองในการป้องกันท้องไม่พร้อม |
|
|||
3 | เพื่อเสริมสร้างความภาคภูมิใจในตนเองของวัยรุ่นและให้มีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต |
|
|||
4 | เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทักษะด้านเพศศึกษา ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเด็กและเยาวชนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทักษะด้านเพศศึกษา |
|
|||
5 | เพื่อส่งเสริมพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีทักษะการใช้ชีวิตเพื่อเป็นเกาะป้องกันไม่ให้เกิดการตั้งครรภ์ก่อนวันอันควร ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะการใช้ชีวิตเพื่อเป็นเกราะป้องกันไม่ให้เกิดการตั้งครรภ์ก่อนวันอันควร |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 160 | 160 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 160 | 160 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับเพศศึกษา การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรให้แก่เยาวชน (2) เพื่อให้กลุ่มวัยรุ่นมีทักษะชีวิตในการป้องกันตัวเอง ทักษะการคิด การวิเคราะห์ ทักษะการต่อรอง ทักษะการปฏิเสธ และมีความมั่นใจในตัวเองในการป้องกันท้องไม่พร้อม (3) เพื่อเสริมสร้างความภาคภูมิใจในตนเองของวัยรุ่นและให้มีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต (4) เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทักษะด้านเพศศึกษา (5) เพื่อส่งเสริมพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีทักษะการใช้ชีวิตเพื่อเป็นเกาะป้องกันไม่ให้เกิดการตั้งครรภ์ก่อนวันอันควร
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในวัยรุ่นวัยใส จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 66-L4152-2-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางเจ๊ะวารี หะมีแย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......