กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
อบรมเชิงปฏิบัติเรื่องการสร้างสมดุลชีวิตด้วยดนตรีบำบัด (Musical Therapy) (อ.อารมณ์) 12 ม.ค. 2566 12 ม.ค. 2566

 

4.2.1 การประเมินสุขภาพเบื้องต้น (การวัดความดัน การตรวจประเมินร่างกาย เป็นต้น) 4.2.2 กิจกรรมอบรม โดยแบ่งเป็น - อบรมเชิงปฏิบัติเรื่องการสร้างสมดุลชีวิตด้วยดนตรีบำบัด (Musical Therapy) (อ.อารมณ์)                 (1) อบรมบรรยายเรื่องอาชีวอนามัย ความปลอดภัยในการทำงาน (อ.อโรคยา) (หลักสูตรแนบท้าย) - ความรู้เรื่องการยศาสตร์และข้อควรระมัดระวังในการปฏิบัติงาน - ความรู้เรื่องภัยอันตรายที่มีผลต่อสุขภาพและโรคที่เกิดจากการปฏิบัติงาน - ความรู้เรื่องแนวทางการดูแลสุขภาพของผู้ปฏิบัติงาน
- ความรู้เรื่องกรณีตัวอย่างของปัญหาด้านสุขภาพของผู้ปฏิบัติงาน                 (2) อบรมเชิงปฏิบัติการค้นหาความเสี่ยง และ การขจัดความเสี่ยง (แบ่ง 5 กลุ่ม) (หลักสูตรแนบท้าย) - นำเสนอผลการค้นหาความเสี่ยงและแสดงความคิดเห็น - อบรมเชิงปฏิบัติการโภชนาและอาหารเพื่อสุขภาพแก่ผู้ปฏิบัติงาน (อ.อาหารปลอดภัย) แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติจัดทำอาหารสุขภาพ (แบ่ง 5 กลุ่ม) เช่น อาหารกลุ่มโปรตีนเสริมสร้างกล้ามเนื้อ อาหารสมุนไพร เป็นต้น 4.2.3 กิจกรรมสันทนาการ - การออกกำลังกายและสันทนาการเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันโรค (อ.ออกกำลังกาย)                 (3) อบรมเชิงปฏิบัติการขจัดความเสี่ยงต่อสุขภาพ โดยการส่งเสริมสุขภาพ และสร้างภูมิคุ้มกันโรค ลด ละ เลิกอบายมุข การพนัน ยาเสพติด บุหรี่ สุรา และการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ (อ.อบายมุข) - จำลองสถานการณ์จริง ประยุกต์ใช้ความรู้ที่ได้รับจากการอบรมในการแก้ไขปัญหาตามสถานการณ์ที่กำหนด (แบ่ง 5กลุ่ม)     4.3 ขั้นประเมินผล       (1) จากการทำแบบทดสอบก่อน - หลังการอบรม                 (2) จากการถาม-ตอบ ระหว่างการอบรม                 (3) จากแบบสรุปแผนผังความคิดจากการหาความเสี่ยงและขจัดความเสี่ยงจากการทำงาน                 (4) จากการสังเกตการให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม                 (5) จากผลการเข้าร่วมกิจกรรมและสามารถปฏิบัติได้ถูกต้อง     4.4 ขั้นสรุปและเขียนรายงาน

 

  1. พนักงาน มีความรู้เรื่องอาชีวอนามัย ความปลอดภัยในการทำงาน
  2. พนักงาน สามารถค้นหาความเสี่ยง และ สามารถขจัดความเสี่ยงต่อสุขภาพได้อย่างถูกต้อง
  3. พนักงาน สามารถนำความรู้และทักษะที่ได้รับไปจัดการความเสี่ยงจากการทำงานที่ส่งต่อผลสุขภาพได้