กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
ส่งเสริมโภชนาการเด็ก 3 ม.ค. 2566

 

 

 

 

 

อบรมให้ความรู้ 28 ก.พ. 2566

 

 

 

 

 

สาธิตปลูกผักปลอดสารพิษ 28 ก.พ. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมสาธิตปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อเสริมโภชนาการเด็ก 28 ก.พ. 2566 28 ก.พ. 2566

 

  1. เสนอโครงการเพื่อการอนุมัติตามวาระการประชุมของคณะกรรมการกองทุนฯ     2. ดำเนินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็ก ทุกๆ เดือน
        3. บันทึกผลน้ำหนักและส่วนสูงในสุมดทะเบียนเด็ก พร้อมแจ้งพ่อแม่ทราบและบันทึกในสมุดบันทึกสุขภาพเด็ก     4. จัดทำทะเบียนเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน และเด็กที่มีน้ำหนักน้อยหรือผอม แยกเป็นการเฉพาะ     5. อบรมครูผู้ดูแลเด็ก/พี่เลี้ยง ผู้ปกครองเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน น้ำหนักน้อยหรือผอมเข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการในการดูแลน้ำหนักเด็ก โดยวิทยากรจาก รพ. หรือ ศูนย์บริการสาธารณสุขในพื้นที่ มีเนื้อหาดังนี้ (หรือตามหลักสูตรกรมอนามัย)
                  5.1 บรรยายให้ความรู้เรื่อง ความหมายและความสำคัญของภาวะโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย(ผู้ปกครอง,เด็กนักเรียน)         5.2 บรรยายให้ความรู้เรื่อง ปัจจัยที่ส่งเสริมการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย (ผู้ปกครอง,เด็กนักเรียน)         5.3 บรรยายให้ความรู้เรื่อง “ภาวะโภชนาการและการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย”(ผู้ปกครอง)     5.3.1 การประเมินภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย     5.3.2 โรคขาดสารอาหาร ภาวะเด็กน้ำหนักต่ำกว่าหรือมากกว่าเกณฑ์     5.3.3 โรคอ้วน โรคและความผิดปกติที่เกี่ยวกับโภชนาการและการเจริญเติบโต **หมายเหตุ  นักเรียนอนุบาล 1– ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงและแปรผลโดยใช้กราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิง

5.4 บรรยายให้ความรู้เรื่อง “อาหารหลัก 5 หมู่และธงโภชนาการ 6 กลุ่ม”(ผู้ปกครอง)     5.4.1  อาหารที่เหมาะสมในแต่ละช่วงวัย
    5.4.2 ปริมาณวัตถุดิบในการจัดอาหาร
    5.4.3 การเลือกซื้อ การเตรียม การปรุงอาหาร
    5.4.4 ปริมาณสารอาหารที่ได้รับใน 1 วัน 5.5 บรรยายให้ความรู้เรื่อง“การจัดสิ่งแวดล้อมและการสร้างสุขนิสัยที่ดีสำหรับเด็กในการรับประทานอาหาร(ผู้ปกครอง) **หมายเหตุ  นักเรียนอนุบาล 1 – ประถมศึกษาปีที่6 ฟังบรรยายให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษและสาธิตปลูก ผักปลอดสารพิษเพื่อส่งเสริมโภชนาการ

 

ผู้ปกครอง นักเรียน มีความรู้ความเข้าใจในการปลูกผัก เพื่อเสริมโภชนาการในเด็กได้อย่างถูกต้อง

 

กิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็ก 7 มี.ค. 2566 7 มี.ค. 2566

 

  1. เสนอโครงการเพื่อการอนุมัติตามวาระการประชุมของคณะกรรมการกองทุนฯ     2. ดำเนินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็ก ทุกๆ เดือน
        3. บันทึกผลน้ำหนักและส่วนสูงในสุมดทะเบียนเด็ก พร้อมแจ้งพ่อแม่ทราบและบันทึกในสมุดบันทึกสุขภาพเด็ก     4. จัดทำทะเบียนเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน และเด็กที่มีน้ำหนักน้อยหรือผอม แยกเป็นการเฉพาะ     5. อบรมครูผู้ดูแลเด็ก/พี่เลี้ยง ผู้ปกครองเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน น้ำหนักน้อยหรือผอมเข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการในการดูแลน้ำหนักเด็ก โดยวิทยากรจาก รพ. หรือ ศูนย์บริการสาธารณสุขในพื้นที่ มีเนื้อหาดังนี้ (หรือตามหลักสูตรกรมอนามัย)
                  5.1 บรรยายให้ความรู้เรื่อง ความหมายและความสำคัญของภาวะโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย(ผู้ปกครอง,เด็กนักเรียน)         5.2 บรรยายให้ความรู้เรื่อง ปัจจัยที่ส่งเสริมการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย (ผู้ปกครอง,เด็กนักเรียน)         5.3 บรรยายให้ความรู้เรื่อง “ภาวะโภชนาการและการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย”(ผู้ปกครอง)     5.3.1 การประเมินภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย     5.3.2 โรคขาดสารอาหาร ภาวะเด็กน้ำหนักต่ำกว่าหรือมากกว่าเกณฑ์     5.3.3 โรคอ้วน โรคและความผิดปกติที่เกี่ยวกับโภชนาการและการเจริญเติบโต **หมายเหตุ  นักเรียนอนุบาล 1– ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงและแปรผลโดยใช้กราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิง

5.4 บรรยายให้ความรู้เรื่อง “อาหารหลัก 5 หมู่และธงโภชนาการ 6 กลุ่ม”(ผู้ปกครอง)     5.4.1  อาหารที่เหมาะสมในแต่ละช่วงวัย
    5.4.2 ปริมาณวัตถุดิบในการจัดอาหาร
    5.4.3 การเลือกซื้อ การเตรียม การปรุงอาหาร
    5.4.4 ปริมาณสารอาหารที่ได้รับใน 1 วัน 5.5 บรรยายให้ความรู้เรื่อง“การจัดสิ่งแวดล้อมและการสร้างสุขนิสัยที่ดีสำหรับเด็กในการรับประทานอาหาร(ผู้ปกครอง) **หมายเหตุ  นักเรียนอนุบาล 1 – ประถมศึกษาปีที่6 ฟังบรรยายให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษและสาธิตปลูก ผักปลอดสารพิษเพื่อส่งเสริมโภชนาการ

 

จำนวนนักเรียน 22 คน มีพัฒนาการจากน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ดังนี้ -เกณฑ์ที่ดีสมส่วน จำนวน 20 คน -น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 2 คน

 

กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน 7 มี.ค. 2566 28 ก.พ. 2566

 

  1. เสนอโครงการเพื่อการอนุมัติตามวาระการประชุมของคณะกรรมการกองทุนฯ     2. ดำเนินการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็ก ทุกๆ เดือน
        3. บันทึกผลน้ำหนักและส่วนสูงในสุมดทะเบียนเด็ก พร้อมแจ้งพ่อแม่ทราบและบันทึกในสมุดบันทึกสุขภาพเด็ก     4. จัดทำทะเบียนเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน และเด็กที่มีน้ำหนักน้อยหรือผอม แยกเป็นการเฉพาะ     5. อบรมครูผู้ดูแลเด็ก/พี่เลี้ยง ผู้ปกครองเด็กที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน น้ำหนักน้อยหรือผอมเข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการในการดูแลน้ำหนักเด็ก โดยวิทยากรจาก รพ. หรือ ศูนย์บริการสาธารณสุขในพื้นที่ มีเนื้อหาดังนี้ (หรือตามหลักสูตรกรมอนามัย)
                  5.1 บรรยายให้ความรู้เรื่อง ความหมายและความสำคัญของภาวะโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย(ผู้ปกครอง,เด็กนักเรียน)         5.2 บรรยายให้ความรู้เรื่อง ปัจจัยที่ส่งเสริมการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย (ผู้ปกครอง,เด็กนักเรียน)         5.3 บรรยายให้ความรู้เรื่อง “ภาวะโภชนาการและการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัย”(ผู้ปกครอง)     5.3.1 การประเมินภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย     5.3.2 โรคขาดสารอาหาร ภาวะเด็กน้ำหนักต่ำกว่าหรือมากกว่าเกณฑ์     5.3.3 โรคอ้วน โรคและความผิดปกติที่เกี่ยวกับโภชนาการและการเจริญเติบโต **หมายเหตุ  นักเรียนอนุบาล 1– ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงและแปรผลโดยใช้กราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิง

5.4 บรรยายให้ความรู้เรื่อง “อาหารหลัก 5 หมู่และธงโภชนาการ 6 กลุ่ม”(ผู้ปกครอง)     5.4.1  อาหารที่เหมาะสมในแต่ละช่วงวัย
    5.4.2 ปริมาณวัตถุดิบในการจัดอาหาร
    5.4.3 การเลือกซื้อ การเตรียม การปรุงอาหาร
    5.4.4 ปริมาณสารอาหารที่ได้รับใน 1 วัน 5.5 บรรยายให้ความรู้เรื่อง“การจัดสิ่งแวดล้อมและการสร้างสุขนิสัยที่ดีสำหรับเด็กในการรับประทานอาหาร(ผู้ปกครอง) **หมายเหตุ  นักเรียนอนุบาล 1 – ประถมศึกษาปีที่6 ฟังบรรยายให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษและสาธิตปลูก ผักปลอดสารพิษเพื่อส่งเสริมโภชนาการ

 

จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง และเด็กนักเรียน จำนวน  105 คน พบว่า จากการทำแบบทดสอบก่อนและหลังการอบรมจากชุดเดียวกัน พบว่า ค่าเฉลี่ยของคะแนนก่อนการอบรม อยู่ที่ ( x = 5.34) ( S.D.=0.98)
ค่าเฉลี่ยของคะแนนหลังการอบรม อยู่ที่ ( x = 5.48) ( S.D.=1.93)