กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยและโภชนาการ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแหร
รหัสโครงการ 66-L4120-03-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแหร
วันที่อนุมัติ 15 กุมภาพันธ์ 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2566 - 29 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 29 กันยายน 2566
งบประมาณ 23,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาปีน๊ะ วัฒนะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.105,101.204place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มี.ค. 2566 29 ก.ย. 2566 1 มี.ค. 2566 29 ก.ย. 2566 23,000.00
รวมงบประมาณ 23,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 75 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มวัยทำงาน 75 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วยปัจจุบัน ปัญหาสุขภาพมีสาเหตุสำคัญมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ อาหารที่มีการปลอมปนสารเคมี ผัก-ผลไม้ที่ไม่ปลอดภัย มีสารพิษ เพราะผู้ผลิตใช้สารกำจัดศัตรูพืชอย่างไม่ถูกวิธี เพื่อเหตุผลทางการค้าและพาณิชย์ ทำให้เคมีที่เป็นโทษเหล่านั้นตกอยู่กับผู้บริโภคทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญของโภชนาการด้านสุขภาพ โดยเฉพาะผลกระทบต่อภาวะการเจริญเติมโต และพัฒนาการของเด็ก ซึ่งภาวะโภชนาการของเด็กเกิดจากผู้ปกครองไม่มีความรู้เรื่องโภชนาการที่เป็นพื้นฐานสำคัญต่อสุขภาพของเด็กปฐมวัย ไม่ยอมแปรงฟัน ซึ่งจะส่งผลน้ำหนักและส่วนสูงไม่ได้ตามเกณฑ์ตามมาตรฐาน ขาดการเรียนรู้และสมาธิในการเรียน ด้วยเหตุนี้ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแหร อยากให้เด็กมีพัฒนาการที่สมวัย ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพอนามัยเด็กขึ้น เพื่อให้ผู้ปกครองและเด็กได้รับความรู้ด้านอาหารและโภชนาการ อันจะช่วยให้เด็กปฐมวัยมีภาวะโภชนาการและสุขภาพร่างกายแข็งแรง และอยู่ในสภาพแวดล้อมของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและชุมชนที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดีต่อไป ดังนั้น เพื่อให้เด็กก่อนปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกคนมีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ พัฒนาการสมวัยในทุกๆด้าน และอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างเก่ง ดี มีสุข ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแหร สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านแหร จึงได้จัดทำโครงการ "ส่งเสริมสุขภาพอนามัยและโภชนาการ" ขึ้น เพื่อให้ผู้ปกครอง ครู ผู้ช่วยครู ผู้ประกอบอาหาร มีความรู้ด้านอาหารและการจัดโภชนาการให้กับเด็ก เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านอาหารและโภชนาการกับบุคลากรด้านสาธารณสุข ทำให้เด็กมีสุขภาพร่างกายและสุขภาพจิตใจที่ดี มีความพร้อมที่จะเรียนรู้อย่างเต็มที่

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้ปกครอง ครู ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหาร มีความรู้ด้านอาหารและการจัดโภชนาการให้กับเด็ก

ร้อยละของผู้กครอง ครู ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหาร มีความรู้ด้านอาหารและการจัดโภชนาการให้กับเด็ก

80.00
2 เพื่อให้ผู้ปกครอง ครู ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหาร เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านอาหารและโภชนาการกับบุคลากรด้านสาธารณสุข

ร้อยละผู้ปกครอง ครู ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหาร เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านอาหารและโภชนาการกับบุคลากรด้านสาธารณสุข

80.00
3 เพื่อให้เด็กมีสุขภาพร่างกายและสุขภาพจิตที่ดี พร้อมที่จะเรียนรู้อย่างเต็มศักยภาพ

ร้อยละของเด็กเด็กมีสุขภาพร่างกายและสุขภาพจิตที่ดี พร้อมที่จะเรียนรู้อย่างเต็มศักยภาพ

80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 150 23,000.00 2 21,000.00
26 มิ.ย. 66 - 29 ก.ย. 66 กิจกรรมปลูกผักปลอดสารพิษ 75 10,850.00 8,850.00
6 ก.ค. 66 กิจกรรมบรรยายให้ความรู้ด้านอาหารและการจัดการโภชนาการ 75 12,150.00 12,150.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้ปกครอง ครู ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหาร มีความรู้ด้านอาหารและการจัดโภชนาการให้กับเด็ก
  2. ผู้ปกครอง ครู ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหาร เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านอาหารและโภชนาการกับบุคลาการด้านสาธารณสุข
  3. เด็กมีสุขภาพร่างกาย และสุขภาพจิตที่ดี มีความพร้อมที่จะเรียนรู้อย่างเต็มศักยภาพ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 16 ก.พ. 2566 15:54 น.