กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลกงหรา


“ โครงการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน ตำบลกงหรา ประจำปี 2566 ”

ตำบลกงหรา อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน ตำบลกงหรา ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลกงหรา อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 1 กรกฎาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน ตำบลกงหรา ประจำปี 2566 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกงหรา อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลกงหรา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน ตำบลกงหรา ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน ตำบลกงหรา ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกงหรา อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 1 กรกฎาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลกงหรา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเจ็บป่วยจากโรคเรื้อรัง และภาวะโรคแทรกซ้อนของโรคความดันและโรคเบาหวานเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ผู้เป็นทุพพล ภาพหรือเสียชีวิตก่อนวัยอันควร และเพิ่มภาระค่าใช้จ่ายของผู้เป็นโรคความดันและเบาหวานอย่างมหาศาล การรักษาโรคก็เพื่อที่จะลดการเกิดโรคแทรกซ้อนเหล่านี้ โรคแทรกซ้อนจากเบาหวานมี 2 ชนิด คือโรคเบาหวานแทรกซ้อนชนิดเฉียบพลัน เช่น ระดับน้ำตาลในเลือดสูงหรือต่ำมากจนอาจเป็นอันตรายถึงชีวิต จำเป็นต้องรับการรักษาที่โรงพยาบาลโดยด่วน และโรคแทรกซ้อนชนิดเรื้อรัง ค่อยเป็นค่อยไปโดยอาจไม่มีอาการในระยะแรก โรคเบาหวานภาวะน้ำตาลในเลือดสูงที่ไม่ได้รับการรักษาเป็นเวลานาน ๆ จะก่อให้เกิดพยาธิสภาพของหลอดเลือดทั่วร่างกาย หลอดเลือดที่เกิดพยาธิสภาพจากภาวะน้ำตาลในเลือดสูงแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือหลอดเลือดขนาดเล็ก ๆ ได้แก่ หลอดเลือดของจอรับภาพของตา เป็นผลให้เกิดภาวะเบาหวานขึ้นตา ถ้าไม่ได้รับการรักษาจะทำให้ตาบอด และหลอดเลือดฝอยของไตเป็นผลให้เกิดภาวะเบาหวานลงไต ถ้าไม่ได้รับการรักษาจะทำให้เกิดไตวาย อีกกลุ่มคือหลอดเลือดที่มีขนาดใหญ่กว่า ได้แก่ หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ เป็นผลให้เกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบตัน หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมอง เป็นผลให้เกิดโรคหลอดเลือดสมองตีบตันหรืออัมพาต และหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงปลายเท้าตีบตันเป็นผลให้เกิดแผลที่เท้าตามมา โรคเบาหวานขึ้นตาและเบาหวานลงไตเป็นโรคแทรกซ้อนที่พบเฉพาะผู้เป็นเบาหวาน ดังนั้นถ้าสามารถควบคุมระดับน้ำตาลให้เหมือนคนปกติก็จะไม่เกิดโรคแทรกซ้อนดังกล่าว ในความเป็นจริงเป็นไปได้ยากมากที่จะควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดในผู้เป็นเบาหวานให้เหมือนคนปกติโดยเฉพาะในผู้ที่เป็นเบาหวานมานาน ๆ ส่วนหนึ่งเนื่องจากอาจจะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะน้ำตาลต่ำในเลือดจากการรักษา ซึ่งจะเป็นผลเสียแก่คนไข้ได้ ดังนั้นเป้าหมายการควบคุมระดับน้ำตาลเพื่อป้องกันการเกิดโรคเบาหวานขึ้นตาและเบาหวานลงไตก็จะขึ้นกับอายุ ระยะเวลาที่เป็นเบาหวาน ตลอดจนโรคประจำตัวของผู้ป่วย โดยทั่วไปจะแนะนำให้ระดับน้ำตาลสะสม (HbA1c) น้อยกว่า 7% นอกจากนี้การควบคุมความดันโลหิตก็จะมีส่วนอย่างมากในการป้องกันและชะลอการเกิดโรคเบาหวานขึ้นตาและเบาหวานลงไต โดยทั่วไปมักจะแนะนำให้ความดันโลหิตตัวบนไม่เกิน 130 มม.ปรอท และความดันโลหิตตัวล่างไม่เกิน 80 มม.ปรอท ในกรณีที่ผู้ป่วยเบาหวานเกิดเบาหวานลงไตระยะหลัง ๆ เช่นการทำงานของไตเสื่อม พบว่าการควบคุมระดับความดันโลหิตอย่างเข้มงวดจะมีประโยชน์ มากกว่าการควบคุมระดับน้ำตาลอย่างเข้มงวด นอกจากนี้ใน ผู้ป่วยเบาหวานที่มีไข่ขาวรั่วออก มาในปัสสาวะ การใช้ยาลดความดันโลหิตในกลุ่ม ACEI (angiotensin-converting enzyme inhibitors) หรือ ARB (angiotensin receptor blockers) จะสามารถชะลอการเสื่อมของไตได้ การใช้ยากลุ่มนี้ก็ควรต้องอยู่ภายใต้คำแนะนำของแพทย์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกงหราใหม่ มีจำนวน ผูป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานจำนวน200คนจึงได้จัดทำโครงการนี้ ขึนเพื่อการมีสุขภาพที่ดีเพื่อป้องกันการเกิดโรคร่วมด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การเตรียมข้อมูลโครงการ
  2. การให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย ในการดูแลตนเอง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน ตามกลุ่มโรค
  3. การติดตามประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 200
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การเตรียมข้อมูลโครงการ

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. เตรียมข้อมูล ประชุมเจ้าหน้าที่ เพื่อสรุปจำนวนผู้ป่วยแยกจำนวนตามกลุ่มโรค     1.1 ผู้ป่วยโรคเบาหวาน     1.2 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
  2. จัดเตรียมเอกสารในการดำเนินโครงการ     2.1 หนังสือเชิญเข้าร่วมการอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย     2.2 แบบลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม     2.3 แผ่นพับ/โปสเตอร์ให้ความรู้
  3. ประสานงานผู้ที่เกี่ยวข้อง     3.1 เจ้าหน้าที่/วิทยากรให้ความรู้     3.2 อสม.ประจำหมู่บ้านเพื่อส่งหนังสือเชิญเข้าร่วมการอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เตรียมข้อมูล ประชุมเจ้าหน้าที่ เพื่อสรุปจำนวนผู้ป่วยแยกจำนวนตามกลุ่มโรค     1.1 ผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 102 คน     1.2 ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 98 คน
  2. จัดเตรียมเอกสารในการดำเนินโครงการ     2.1 หนังสือเชิญเข้าร่วมการอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย     2.2 แบบลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม     2.3 แผ่นพับ/โปสเตอร์ให้ความรู้
  3. ประสานงานผู้ที่เกี่ยวข้อง     3.1 เจ้าหน้าที่/วิทยากรให้ความรู้ ตอบรับเป็นวิทยากรเรียบร้อย     3.2 อสม.ประจำหมู่บ้านเพื่อส่งหนังสือเชิญเข้าร่วมการอบรมได้ครบทุกคนตามจำนวนกลุ่มเป้าหมาย

 

0 0

2. การติดตามประเมินผล

วันที่ 1 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประเมินผล   1. การมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมของผู้ป่วยโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การประเมินผล   1. การมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมของผู้ป่วยโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 200 คน

 

0 0

3. การให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย ในการดูแลตนเอง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน ตามกลุ่มโรค

วันที่ 1 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. กิจกรรมให้ความรู้ในกลุ่มเป้าหมายโรคเบาหวาน   1.1 ให้ความรู้เรื่องลักษณะของโรค ภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน โรคแทรกซ้อนจากเบาหวานมี 2 ชนิด คือโรคเบาหวานแทรกซ้อนชนิดเฉียบพลัน เช่น ระดับน้ำตาลในเลือดสูงหรือต่ำมากจนอาจเป็นอันตรายถึงชีวิต จำเป็นต้องรับการรักษาที่โรงพยาบาลโดยด่วน และโรคแทรกซ้อนชนิดเรื้อรัง ค่อยเป็นค่อยไปโดยอาจไม่มีอาการในระยะแรก โรคเบาหวานภาวะน้ำตาลในเลือดสูงที่ไม่ได้รับการรักษาเป็นเวลานาน ๆ จะก่อให้เกิดพยาธิสภาพของหลอดเลือดทั่วร่างกาย เป็นต้น
  2. กิจกรรมให้ความรู้ในกลุ่มเป้าหมายโรคเบาหวาน   2.1 ให้ความรู้เรื่องลักษณะของโรค ภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูง โรคความดันโลหิตสูงจะเพิ่มความเสี่ยงของท่านในการเกิดโรคหัวใจ โรคไต โรคหลอดเลือดสมอง โรคความดันโลหิตสูงอาจไม่มีอาการเตือน ผู้ป่วยหลายรายมาด้วยโรคแทรกซ้อน เช่นโรคหัวใจโต หรือโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด เป็นต้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมให้ความรู้และดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 200
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การเตรียมข้อมูลโครงการ (2) การให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย ในการดูแลตนเอง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน ตามกลุ่มโรค (3) การติดตามประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน ตำบลกงหรา ประจำปี 2566

ระยะเวลาโครงการ 1 มีนาคม 2566 - 1 กรกฎาคม 2566

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

เกิดกลุ่มของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตขึ้น ประชาชนบางคนได้พบและพูดคุยกันจากโครงสร้างทางสังคมใหม่

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ที่สามารถนำไปใช้ดูแลสุขภาพของตนเองได้เพื่อไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนของโรค

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

กลุ่มเป้าหมายสามารถเลือกอาหารที่ดีต่อสุขภาพและไม่เพิ่มความรุนแรงของโรคได้

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

กลุ่มเป้าหมาย ได้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเอง วิธีการออกกำลังกาย เพื่อสุขภาพที่ดี

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

กลุ่มเป้าหมายทราบว่าโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีสาเหตุมาจากพฤติกรรมทางสุขภาพเช่นการสูบบุหรี่การดื่มแอลกอฮอล์ กลุ่มเป้าหมายจึงควรหลีกเลี่ยง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องพฤติกรรมทางสุขภาพที่มีผลต่อโรค รวมไปถึงอารมณ์ ความเครียด กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ในการจัดการความเครียด

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมายสามารถเข้าถึงการให้บริการของหน่วยบริการปฐมภูมิ และได้รับการติดตามจากหน่วยงานปฐมภูมิ เพิ่มขึ้น

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

มีการติดต่อสื่อสารกันของเจ้าหน้าที่รพ.สต. อสม. และประชาชนในชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องโรคของตนเองมากขึ้น ส่งผลถึงความมั่นใจและสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้และดูแลสุขภาพมากขึ้น

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน ตำบลกงหรา ประจำปี 2566 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด