กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการค่ายเยาวชนรุ่นใหม่ ห่างไกลยาเสพติด ตามแนวทางอิสลาม ประจำปี 2566 ”
ม.2 ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นายวันดาวุฒิ เจะอาแว




ชื่อโครงการ โครงการค่ายเยาวชนรุ่นใหม่ ห่างไกลยาเสพติด ตามแนวทางอิสลาม ประจำปี 2566

ที่อยู่ ม.2 ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3009-02-13 เลขที่ข้อตกลง 009/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการค่ายเยาวชนรุ่นใหม่ ห่างไกลยาเสพติด ตามแนวทางอิสลาม ประจำปี 2566 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.2 ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะมิยอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการค่ายเยาวชนรุ่นใหม่ ห่างไกลยาเสพติด ตามแนวทางอิสลาม ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการค่ายเยาวชนรุ่นใหม่ ห่างไกลยาเสพติด ตามแนวทางอิสลาม ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ม.2 ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L3009-02-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะมิยอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 และแก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ.2545 ได้บัญญัติให้ผู้รับผิดชอบการศึกษา พัฒนาผู้เรียนให้ครอบคลุมสำหรับทั้ง 3 ด้าน คือ ให้เป็นคนเก่ง คนดี สามารถดำเนินชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงของกระแสสังคมโลกที่มีการพลวัตรอยู่ตลอดเวลา ผลกระทบที่ก่อให้เกิดสภาพปัญหาที่รุนแรงในเยาวชนวัยรุ่นและวัยเรียนในสังคมไทยก็คือปัญหาด้านยาเสพติดซึ่งเป็นปัญหาที่ทำให้รัฐต้องสิ้นเปลืองงบประมาณในแต่ละปีเป็นจำนวนมากมหาศาล นอกจากเป็นการสูญเสียจำนวนเม็ดเงินแล้วยังส่งผลถึงความล่มสลาย วิญญาณของพ่อแม่ ผู้ปกครอง ตลอดจนบุคคลใกล้ชิด ทำให้เกิดปัญหาทางด้านสังคมติดตามมาอีกมากมาย การแก้ปัญหาดังกล่าวนั้นเป็นการยากลำบาก ทั้งในด้านการใช้งบประมาณ พลังใจที่เข้มแข็งและเวลาอันยาวนาน กลุ่มครูตาดีกา หมู่ที่ ๒ ตำบลกะมิยอในฐานะเป็นองค์กรที่ต้องดูแลรับผิดชอบกลุ่มเยาวชนดังกล่าวเห็นว่าการป้องกันโดยการสร้างองค์ความรู้ความเข้าใจนับเป็นแนวทางสำคัญ ที่ทำให้เยาวชนปลอดภัยจากยาเสพติด ได้ในระดับหนึ่ง จากข้อมูลที่ผ่านมาพบว่ายังไม่มีผู้ติดสารเสพติดดังกล่าว เนื่องจากนักเรียนยังอายุน้อยแต่จากประสบการณ์พบว่า เมื่อนักเรียนเข้าสู่วัยรุ่นในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เป็นต้นไป นักเรียนก็จะเริ่มเข้าไปทดลองใช้ยาเสพติดดังกล่าวจนทำให้ต้องเสียคนและเสียการเรียนไปในที่สุด
    ด้วยเหตุนี้เองทำให้กลุ่มครูตาดีกา หมู่ที่ ๒ ตำบลกะมิยอ ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญในปัญหาดังกล่าว เพื่อเป็นการป้องกันและแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ ด้วยการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และถ่ายทอดวัฒนธรรมของสังคมให้แก่เยาวชนตามวิถีมุสลิม เนื่องจากมุสลิมเป็นวิถีการดำเนินชีวิตที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของศาสนาที่บัญญัติไว้ในอัลกรุอ่าน และตามแบบอย่างท่านนบี จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้นักเรียนชั้น ป.6 และคณะครู จำนวน 30 คน ได้เรียนรู้ถึงพิษภัยของยาเสพติดและมีทักษะในการป้องกันและปฏิเสธยาเสพติดต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนชั้น ป.6 จำนวน 30 คน และคณะครูพี่เลี้ยง จำนวน 30 คน มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงภัยของยาเสพติด
  2. เพื่อให้นักเรียนเกิดการเป็นผู้นำในการป้องกันต่อต้านและป้องกันแพร่ระบาดของยาเสพติดในสถานศึกษาและท้องถิ่น
  3. การพัฒนาคุณภาพชีวิต ทักษะทางความคิดสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกายจิตใจตามวิถีมุสลิมและตามหลักสากลให้กับนักเรียน ไม่ตกเป็นทาสของยาเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแก่นักเรียนเรื่องพิษภัยของยาเสพติดและวิธีการป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากยาเสพติด
  2. กิจกรรมฮาลาเกาะฮ์เพาะคุณธรรม ปลุกเยาวชนรุ่นใหม่หัวใจสีขาว

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และตระหนักเกี่ยวกับโทษภัยของยาเสพติด และรู้จักวิธีป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากยาเสพติด
  2. เยาวชนในท้องถิ่นเกิดการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตที่สอดคล้องกับอิสลาม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนชั้น ป.6 จำนวน 30 คน และคณะครูพี่เลี้ยง จำนวน 30 คน มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงภัยของยาเสพติด
ตัวชี้วัด : นักเรียนชั้น ป.6 และคณะครูพี่เลี้ยง จำนวน 60 คน มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงภัยของยาเสพติด

 

2 เพื่อให้นักเรียนเกิดการเป็นผู้นำในการป้องกันต่อต้านและป้องกันแพร่ระบาดของยาเสพติดในสถานศึกษาและท้องถิ่น
ตัวชี้วัด : นักเรียนเกิดการเป็นผู้นำในการป้องกันต่อต้านและป้องกันแพร่ระบาดของยาเสพติดในสถานศึกษาและท้องถิ่น

 

3 การพัฒนาคุณภาพชีวิต ทักษะทางความคิดสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกายจิตใจตามวิถีมุสลิมและตามหลักสากลให้กับนักเรียน ไม่ตกเป็นทาสของยาเสพติด
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีคุณภาพชีวิต ทักษะทางความคิดสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกายจิตใจตามวิถีมุสลิมและตามหลักสากลและ ไม่ตกเป็นทาสของยาเสพติด

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนชั้น ป.6 จำนวน 30 คน และคณะครูพี่เลี้ยง จำนวน 30 คน มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงภัยของยาเสพติด (2) เพื่อให้นักเรียนเกิดการเป็นผู้นำในการป้องกันต่อต้านและป้องกันแพร่ระบาดของยาเสพติดในสถานศึกษาและท้องถิ่น (3) การพัฒนาคุณภาพชีวิต ทักษะทางความคิดสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกายจิตใจตามวิถีมุสลิมและตามหลักสากลให้กับนักเรียน ไม่ตกเป็นทาสของยาเสพติด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแก่นักเรียนเรื่องพิษภัยของยาเสพติดและวิธีการป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากยาเสพติด (2) กิจกรรมฮาลาเกาะฮ์เพาะคุณธรรม ปลุกเยาวชนรุ่นใหม่หัวใจสีขาว

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการค่ายเยาวชนรุ่นใหม่ ห่างไกลยาเสพติด ตามแนวทางอิสลาม ประจำปี 2566 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3009-02-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวันดาวุฒิ เจะอาแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด