กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการกิจกรรมสาธารณะประโยชน์เพื่อสังคม “CSR one day camp เยาวชนจิตอาสาทำความดีเพื่อแผ่นดิน รู้จักชุมชน รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม” ประจำปี 2566

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการกิจกรรมสาธารณะประโยชน์เพื่อสังคม “CSR one day camp เยาวชนจิตอาสาทำความดีเพื่อแผ่นดิน รู้จักชุมชน รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม” ประจำปี 2566 ”
ม.1 ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางสาวมาเรียม โตะเฮง




ชื่อโครงการ โครงการกิจกรรมสาธารณะประโยชน์เพื่อสังคม “CSR one day camp เยาวชนจิตอาสาทำความดีเพื่อแผ่นดิน รู้จักชุมชน รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม” ประจำปี 2566

ที่อยู่ ม.1 ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3009-02-16 เลขที่ข้อตกลง 016/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการกิจกรรมสาธารณะประโยชน์เพื่อสังคม “CSR one day camp เยาวชนจิตอาสาทำความดีเพื่อแผ่นดิน รู้จักชุมชน รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม” ประจำปี 2566 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.1 ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะมิยอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการกิจกรรมสาธารณะประโยชน์เพื่อสังคม “CSR one day camp เยาวชนจิตอาสาทำความดีเพื่อแผ่นดิน รู้จักชุมชน รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม” ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการกิจกรรมสาธารณะประโยชน์เพื่อสังคม “CSR one day camp เยาวชนจิตอาสาทำความดีเพื่อแผ่นดิน รู้จักชุมชน รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม” ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ม.1 ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 66-L3009-02-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะมิยอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาด้านการจัดการขยะเป็นปัญหาที่สำคัญของประเทศไทยในปัจจุบัน การเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรและรูปแบบพฤติกรรมการบริโภคส่งผลให้ปัญหาขยะแนวโน้มทวีความรุนแรงและเกิดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม ทำให้เกิดการปนเปื้อนของพื้นดิน แหล่งน้ำและอากาศ ทำให้บ้านเมืองไม่เป็นระเบียบเรียบร้อย ไม่เป็นที่เจริญของผู้ที่ได้พบเห็น ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนโดยทั่วไป การแก้ไขปัญหาของขยะมูลฝอย จึงควรปฏิบัติเพื่อป้องกันและแก้ไขผลเสียที่จะเกิดขึ้น สำหรับการป้องกันและแก้ไขที่ดีควรพิจารณา ถึงต้นเหตุที่ก่อให้เกิดขยะมูลฝอยขึ้นมา ซึ่งก็คงจะหมายถึงมนุษย์หรือผู้สร้างขยะมูลฝอย นั้นเอง การป้องกันและการแก้ไขปัญหาของขยะมูลฝอย เริ่มต้นด้วยการสร้างจิตสำนึกแก่มนุษย์ให้รู้จักรับผิดชอบในการรักษาความสะอาด ทั้งในบ้านเรือนของตัวเองและภายนอกบ้าน ไม่ว่าจะเป็นถนนหนทาง สถานที่ทำงานหรือโดยเฉพาะสถานที่สาธารณะ ให้รู้จักทิ้งขยะมูลฝอยลงในภาชนะให้เป็นที่เป็นทาง ไม่มักง่ายทิ้งขยะเกลื่อนกลาด ขยะมูลฝอยขยะหรือของเสียแบ่งเป็นมูลฝอยธรรมดาทั่วไป ได้แก่ มูลฝอยสด เศษอาหาร กระดาษโฟม พลาสติก ขวดแก้ว โลหะ ฯลฯ และของเสียอันตราย ได้แก่ มูลฝอยติดเชื้อจากโรงพยาบาล กากสารเคมี สารเคมีกำจัดแมลง กากน้ำมัน หลอดฟลูออเรสเซนต์แบตเตอรี่ใช้แล้ว แหล่งกำเนิดของเสียที่สำคัญ ได้แก่ชุมชน โรงงานอุตสาหกรรมและพื้นที่เกษตรกรรม ปริมาณขยะมูลฝอยดังกล่าว ส่งผลให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม ขยะที่เกิดขึ้นทำให้เกิดปริมาณมูลฝอยตกค้าง ตามสถานที่ต่าง ๆ หรือมีการนำไปกำจัดโดยวิธีกองบนพื้นซึ่งไม่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม ได้แก่มูลพิษที่เกิดในอาการ น้ำเน่าเสียเป็นแหล่งเพาะพันธ์พาหะนำโรค โดยเฉพาะลูกน้ำยุงลายจากน้ำขังปัญหาเหล่านี้ส่งผลต่อภาวะสุขภาพทั้งทางกายและสร้างความรำคาญทางใจ สิ่งปฏิกูลหรือขยะมูลฝอยที่มีบนชายหาดทำให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมอย่างรุนแรง อาทิเช่นขยะมูลฝอยพัดลงทะเลส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมใต้ท้องทะเล ทำให้สัตว์ทะเลได้รับอันตรายจากขยะมูลฝอยซึ่งประเทศไทยได้รับบทเรียนจากน้องพยูนมาเรียมที่เสียชีวิตจากการกินขยะพลาสติกในท้องทะเล ดังนั้นการรณรงค์และประชาสัมพันธ์อย่างทั่วถึง ลด ละ เลิกการใช้ถุงพลาสติกหรือการสร้างขยะมูลฝอยในพื้นที่ต่างๆ เป็นสิ่งสำคัญที่ลดปัญหาสิ่งแวดล้อม ซึ่งในเมืองปัตตานีมีคูน้ำ คลอง แม่น้ำที่สำคัญที่ไหล่สู่ทะเล และเพื่อทัศนียภาพในชุมชนและตัวเมืองที่เต็มไปด้วยเรื่องราวที่น่าสนใจ รวมถึงวัฒนธรรมอันดีงาม เพื่อพัฒนาเมืองและชุมชนให้เป็นแหล่งอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมลดปัญหาที่เกิดขึ้นกับระบบนิเวศ และต้องการจุดประกายให้ชุมชนมีความตระหนักเห็นคุณค่าของสิ่งแวดล้อม เล็งเห็นถึงปัญหาของขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นจากน้ำมือของมนุษย์     ซึ่งกลุ่มปัมมูดี บ้านท่าราบ ม.1 กะมิยอ องค์การบริหารส่วนตำบลกะมิยอ และหน่วยงานของภาครัฐ และภาคเอกชน ได้ให้ความร่วมมือในการจัดโครงการภายใต้ชื่อ โครงการ กิจกรรมสาธารณะประโยชน์เพื่อสังคม CSR one day camp.เยาวชนจิตอาสา ทำความดีเพื่อแผ่นดิน “รู้รักชุมชม รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม” เพื่อพัฒนาและตระหนักถึงปัญหาของสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน และเป็นต้นแบบในการรณรงค์การจัดการขยะในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกให้กับประชาชน รวมไปถึงสร้างความสามัคคีและความสัมพันธ์ที่ดีให้กับคนในชุมชน
  2. เพื่อลดปริมาณขยะในชุมชน และกําจัดแหล่งเพาะพันธุ์ของเชื้อโรค
  3. เพื่อสนับสนุนส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมฝึกอบรม การส่งเสริมความมีจิตสาธารณะด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม และให้ความรู้เรื่อง การคัดแยกขยะในบ้านเรือน และอื่น
  2. ค่าตอบแทนวิทยากร
  3. กิจกรรมทำความสะอาดศาสนสถานมัสยิดหมู่ 1 และหมู่ 5

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ทำให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ คุณธรรม จริยธรรม และเกิดความสามัคคีในชุมชน
  2. ทำให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ปลูกฝังและสร้างจิตสํานึกที่ดี รวมไปถึงสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับคนในชุมชน ซึ่งเป็นการขัดเกลาทางจิตใจให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรมให้รู้คุณค่าของการแบ่งปันและการช่วยเหลือผู้อื่น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ทำให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ คุณธรรม จริยธรรม และเกิดความสามัคคีในชุมชน
  2. ทำให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ปลูกฝังและสร้างจิตสํานึกที่ดี รวมไปถึงสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับคนในชุมชน ซึ่งเป็นการขัดเกลาทางจิตใจ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกให้กับประชาชน รวมไปถึงสร้างความสามัคคีและความสัมพันธ์ที่ดีให้กับคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : สร้างจิตสำนึกให้กับประชาชน รวมไปถึงสร้างความสามัคคีและความสัมพันธ์ที่ดีให้กับคนในชุมชน

 

2 เพื่อลดปริมาณขยะในชุมชน และกําจัดแหล่งเพาะพันธุ์ของเชื้อโรค
ตัวชี้วัด : ลดปริมาณขยะในชุมชน และกําจัดแหล่งเพาะพันธุ์ของเชื้อโรค

 

3 เพื่อสนับสนุนส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดี
ตัวชี้วัด : ทำให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดี

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกให้กับประชาชน รวมไปถึงสร้างความสามัคคีและความสัมพันธ์ที่ดีให้กับคนในชุมชน (2) เพื่อลดปริมาณขยะในชุมชน และกําจัดแหล่งเพาะพันธุ์ของเชื้อโรค (3) เพื่อสนับสนุนส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมฝึกอบรม การส่งเสริมความมีจิตสาธารณะด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม และให้ความรู้เรื่อง การคัดแยกขยะในบ้านเรือน และอื่น (2) ค่าตอบแทนวิทยากร (3) กิจกรรมทำความสะอาดศาสนสถานมัสยิดหมู่ 1 และหมู่ 5

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการกิจกรรมสาธารณะประโยชน์เพื่อสังคม “CSR one day camp เยาวชนจิตอาสาทำความดีเพื่อแผ่นดิน รู้จักชุมชน รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม” ประจำปี 2566 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 66-L3009-02-16

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวมาเรียม โตะเฮง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด