กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการรณรงค์ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนหลาโป-หลังควน ปี 2566 ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนหลาโป-หลังควน ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L6895-02-33 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2565 ถึง 31 กรกฎาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนหลาโป-หลังควน ปี 2566 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนหลาโป-หลังควน ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนหลาโป-หลังควน ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L6895-02-33 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2565 - 31 กรกฎาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,175.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อุบัติเหตุทางถนนเป็นสาเหตุสำคัญในลำดับต้นๆ ของการบาดเจ็บและเสียชีวิตของประชาชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มเยาวชน อายุตั้งแต่ 15 – 18 ปี อุบัติเหตุทางถนนที่เกิดขึ้นแต่ละครั้ง ทำให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจและสังคม นอกจากนี้รัฐยังต้องสูญเสียงบประมาณในการเยียวยาและแก้ปัญหาในแต่ละปีเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงเทศกาลปีใหม่ และเทศกาลสงกรานต์ของทุกปี ฯลฯ นอกจากนี้ สาเหตุหลักๆ มาจากการใช้รถใช้ถนนอย่างขาดความระมัดระวัง และไม่ปฏิบัติตามกฎจราจร ของกลุ่มวัยรุ่นในชั่วโมงเร่งด่วนที่จำเป็นต้องใช้รถจักรยานยนต์เป็นพาหนะในการเดินทางมาโรงเรียน โครงการรณรงค์ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนฯ จึงยังคงมีความจำเป็นที่ต้องดำเนินการต่อเนื่อง และจริงจังต่อไป เพื่อลดอุบัติเหตุทางถนน และจำนวนผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตลงให้ได้มากที่สุดเพราะหากสมาชิกในครอบครัวได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิตจากอุบัติเหตุ ย่อมส่งให้เกิดปัญหาทางเศรษฐกิจอย่างแน่นอน นอกจากนี้ หากผู้ได้รับบาดเจ็บต้องพิการ หรือเป็นผู้ป่วยติดเตียง ยิ่งส่งผลให้ครอบครัวต้องสูญเสียรายได้จากการทำมาหากินเลี้ยงชีพ ตลอดจนจำเป็นต้องมีผู้ดูแลผู้ป่วยที่จะต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพทางร่างกายหากได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุจนไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้
ทางคณะกรรมการชุมชนหลาโป-หลังควน มีความตระหนักในเรื่องดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนหลาโป-หลังควน ปี 2566 ขึ้น เพื่อให้ประชาชนในชุมชนเกิดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้รถใช้ถนนอย่างถูกต้องตามกฎจราจร ทำให้การเกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนลดลงในระดับหนึ่ง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนในชุมชนเกิดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้รถใช้ถนนอย่างถูกต้องตามกฎจราจร
  2. เพื่อลดปัญหาการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชน และป้องกันการสูญเสียชีวิตและทรัพย์สิน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ
  2. กิจกรรมรณรงค์ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน จำนวน 1 วัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนในชุมชน ได้รับความรู้ และมีความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้รถใช้ถนนอย่างถูกต้องตามกฎจราจร
  2. การเกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนลดลงในระดับหนึ่ง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

วันที่ 23 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

08.30 น. – 09.00 น. ลงทะเบียนโดย  คณะกรรมการชุมชนหลาโป-หลังควน
09.00 น. – 09.10 น. พิธีเปิด - กล่าวเปิด โดย  นายกเทศมนตรีเมืองกันตัง  (นายสรนนท์  จิโรจน์มนตรี) - กล่าวรายงาน โดย  ประธานชุมชนหลาโป-หลังควน  (นายอนุสิทธิ์  นุ่มพิจิตร)
09.10 น. – 10.00 น. บรรยายเรื่อง  ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายจราจร โดย  วิทยากรจากสถานีตำรวจภูธรกันตัง
10.00 น. – 1010 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.10 น. – 12.00 น. บรรยายเรื่อง  ป้ายจราจรและสัญญาณจราจรโดย  วิทยากรจากสถานีตำรวจภูธรกันตัง
12.00 น. – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น. – 14.00 น. บรรยายเรื่อง การขับขี่อย่างปลอดภัยโดย  วิทยากรจากสถานีตำรวจภูธรกันตัง
14.00 น. – 14.10 น. พักรับประทานอาหารว่าง 14.10 น. – 16.00 น.  บรรยายเรื่อง  การปฐมพยาบาลเบื้องต้นโดย  วิทยากรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางเป้า
16.00 น. – 16.30 น. - ตอบข้อซักถาม - ประเมินความพึงพอใจ/ ปิดการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนในชุมชนหลาโป-หลังควน จำนวน  50  คนซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 23  พฤษภาคม  2566 ณ อาคารคอซิมบี้ เทศบาลเมืองกันตัง โดยให้ความรู้เรื่องกฎหมายจราจร ป้ายจราจรและสัญญาณจราจร การขับขี่อย่างปลอดภัย การปฐมพยาบาลเบื้องต้น โดยวิทยากรจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอกันตัง  และสถานีตำรวจภูธรกนตัง มาให้ความรู้ดังกล่าว พร้อมประเมินความพึงพอใจผู้เข้ารับการอบรม
  2. ผลการประเมินความพึงพอใจผู้เข้ารับการอบรม  เป้าหมายจำนวน  50  คน  ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน  50 ชุด  ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่ร้อยละ  74.4  มีความพึงพอใจในการดำเนินโครงการอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย  3.72  โดยมีผลการประเมินแต่ละด้านดังนี้ 2.1 ด้านวิทยากร  และสื่อที่ใช้  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 3.85 คิดเป็นร้อยละ 77

- เนื้อหาครบถ้วนเหมาะสม  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  3.84 คิดเป็นร้อยละ 76.8
- วิทยากรถ่ายทอดความรู้ และตอบข้อซักถามได้ชัดเจน  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย  4.02 คิดเป็นร้อยละ  80.4 - สื่อที่ใช้ในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย 3.68  คิดเป็นร้อยละ  73.6
2.2  ด้านความรู้ ความเข้าใจ  และการนำไปใช้  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  3.37  คิดเป็นร้อยละ  86 - มีความรู้ความเข้าใจหลังการอบรม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง  ค่าเฉลี่ย  3.34  คิดเป็นร้อยละ  66.8 - สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง  ค่าเฉลี่ย  3.40  คิดเป็นร้อยละ  68 - สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่/ถ่ายทอดได้  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง  ค่าเฉลี่ย  3.36  คิดเป็นร้อยละ  86.2 2.3  ด้านสถานที่/ระยะเวลา  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย 3.64 คิดเป็นร้อยละ 72.8 - สถานที่ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย 4.00 คิดเป็นร้อยละ 80 - ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง  ค่าเฉลี่ย 3.28 คิดเป็นร้อยละ 65.6 2.4  ภาพรวมของโครงการ  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย 4.00 คิดเป็นร้อยละ 80 3. จัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชน โดยคณะกรรมการชุมชนเดินรณรงค์ให้ความรู้แก่ประชาชนในชุมชน จำนวน 180 หลังคาเรือน จำนวน 1 วัน เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2566   4. สรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด 4.1 ลดปัญหาการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชน และป้องกันการสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินได้ในระดับหนึ่ง 4.2 ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจโครงการอยู่ในระดับมาก ผลการดำเนินงานพบว่าผู้เข้ารับการอบรมร้อยละ 74.4 มีความพึงพอใจโครงการอยู่ในระดับมาก

 

50 0

2. กิจกรรมรณรงค์ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน จำนวน 1 วัน

วันที่ 26 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมรณรงค์ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชน โดยคณะกรรมการชุมชนเดินรณรงค์ให้ความรู้แก่ประชาชนในชุมชน จำนวน 180 หลังคาเรือน จำนวน 1 วัน เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2566

 

15 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนในชุมชนหลาโป-หลังควน จำนวน 50 คนซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2566 ณ อาคารคอซิมบี้ เทศบาลเมืองกันตัง โดยให้ความรู้เรื่องกฎหมายจราจร ป้ายจราจรและสัญญาณจราจร การขับขี่อย่างปลอดภัย การปฐมพยาบาลเบื้องต้น โดยวิทยากรจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอกันตัง และสถานีตำรวจภูธรกนตัง มาให้ความรู้ดังกล่าว พร้อมประเมินความพึงพอใจผู้เข้ารับการอบรม
  2. ผลการประเมินความพึงพอใจผู้เข้ารับการอบรม เป้าหมายจำนวน  50 คน ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน 50 ชุด ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่ร้อยละ 74.4  มีความพึงพอใจในการดำเนินโครงการอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 3.72 โดยมีผลการประเมินแต่ละด้านดังนี้ 2.1 ด้านวิทยากร และสื่อที่ใช้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 3.85 คิดเป็นร้อยละ 77

- เนื้อหาครบถ้วนเหมาะสม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 3.84 คิดเป็นร้อยละ 76.8
- วิทยากรถ่ายทอดความรู้ และตอบข้อซักถามได้ชัดเจน มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.02 คิดเป็นร้อยละ 80.4 - สื่อที่ใช้ในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 3.68 คิดเป็นร้อยละ 73.6
2.2 ด้านความรู้ ความเข้าใจ และการนำไปใช้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 3.37 คิดเป็นร้อยละ 86 - มีความรู้ความเข้าใจหลังการอบรม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.34 คิดเป็นร้อยละ 66.8 - สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.40 คิดเป็นร้อยละ 68 - สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่/ถ่ายทอดได้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.36 คิดเป็นร้อยละ 86.2 2.3 ด้านสถานที่/ระยะเวลา มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 3.64 คิดเป็นร้อยละ 72.8 - สถานที่ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.00 คิดเป็นร้อยละ 80 - ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.28 คิดเป็นร้อยละ 65.6 2.4 ภาพรวมของโครงการ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.00 คิดเป็นร้อยละ 80 3. จัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชน โดยคณะกรรมการชุมชนเดินรณรงค์ให้ความรู้แก่ประชาชนในชุมชน จำนวน 180 หลังคาเรือน จำนวน 1 วัน เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2566   4. สรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด 4.1 ลดปัญหาการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชน และป้องกันการสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินได้ในระดับหนึ่ง 4.2 ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจโครงการอยู่ในระดับมาก ผลการดำเนินงานพบว่าผู้เข้ารับการอบรมร้อยละ 74.4 มีความพึงพอใจโครงการอยู่ในระดับมาก 5. สรุปค่าใช้จ่ายการดำเนินกิจกรรม/โครงการฯ ทั้งสิ้นจำนวน 13,175.- บาท ดังนี้ กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ - ค่าสมนาคุณวิทยากร เป็นเงิน 3,600 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม เป็นเงิน 3,000 บาท - ค่าอาหารกลางวัน เป็นเงิน 3,500 บาท - ค่าป้ายไวนิลโครงการ 1 ผืน เป็นเงิน  375 บาท - ค่าเอกสารประกอบการอบรม/แบบประเมินความพึงพอใจ เป็นเงิน  500 บาท - ค่าวัสดุอุปกรณ์/อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นเงิน 1,000 บาท กิจกรรมรณรงค์ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน จำนวน 1 วัน - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม เป็นเงิน  450 บาท - ค่าป้ายไวนิลรณรงค์ประชาสัมพันธ์ 2 ผืน เป็นเงิน  750 บาท

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนในชุมชนเกิดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้รถใช้ถนนอย่างถูกต้องตามกฎจราจร
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจโครงการอยู่ในระดับมาก

 

2 เพื่อลดปัญหาการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชน และป้องกันการสูญเสียชีวิตและทรัพย์สิน
ตัวชี้วัด : ลดปัญหาการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชน และป้องกันการสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินได้ในระดับหนึ่ง

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนในชุมชนเกิดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้รถใช้ถนนอย่างถูกต้องตามกฎจราจร (2) เพื่อลดปัญหาการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชน และป้องกันการสูญเสียชีวิตและทรัพย์สิน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ (2) กิจกรรมรณรงค์ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน จำนวน 1 วัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนหลาโป-หลังควน ปี 2566 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L6895-02-33

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด