กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการฝึกอบรมการกำจัดเหานักเรียนในศพด.เกาะสุกร ประจำปี 2566
รหัสโครงการ L1479 - 66 - 3 - 6
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเกาะสุกร
วันที่อนุมัติ 30 พฤศจิกายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 3 ตุลาคม 2565 - 22 กันยายน 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 25 กันยายน 2566
งบประมาณ 9,395.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางธิดา หูดัง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเกาะสุกร อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.101,99.581place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 22 มี.ค. 2566 22 ก.ย. 2566 9,395.00
รวมงบประมาณ 9,395.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคเหาเป็นโรคที่พบกันบ่อยมากใน กลุ่มนักเรียนตั้งแต่ชั้นปฐมวัยจนถึงประถมศึกษาโดยพบว่ามีนักเรียนติดเหาประมาณ 80 - 90 % เหาเป็นแมลงขนาดเล็กไม่มีปีก เป็นตัวเบียดเบียนกัดหนังศีรษะ และดูดเลือดเป็นอาหาร เหาสามารถติดต่อกันได้ง่าย ทั้งระหว่างนักเรียนด้วยกันและนักเรียนกับบุคคลในครอบครัว การแก้ปัญหาเพื่อตัดวงจรการระบาดของโรคเหาในโรงเรียน คือต้องกำจัดเหาและปฏิบัติตนเองอย่างถูกต้องจริงจังเกี่ยวกับการรักษาความสะอาดของเส้นผมและหนังศีรษะ นอกจากนี้เหายังก่อให้เกิดความรำคาญกับผู้ที่เป็นเหาจากการมีอาการคันศีรษะแล้วยังทำให้เสียสมาธิในการเรียน เสียบุคลิกภาพ และยังเป็นพาหะนำไปติดผู้อื่นต่อไป วิธีการรักษาเหา จะต้องทำการรักษาผู้ที่เป็นเหาและผู้ที่อยู่ใกล้ชิดควบคู่กันไป โดยต้องทำการควบคุมไม่ให้เหาแพร่กระจาย และป้องกันไม่ให้เกิดการติดเหาซ้ำโดย ใช้ยาเพื่อฆ่าเหาซึ่งยามีทั้งในรูปครีม เจล แชมพู หรือโลชั่น ซึ่งวิธีการรักษาเหาในรูปแบบดังกล่าวเป็นวิธีการที่ทำได้ง่าย และเห็นผลชัดเจน ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเกาะสุกร ได้เล็งเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพของนักเรียนที่เป็นโรคเหา เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจการกำจัดเหาเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเกาะสุกร ทำให้เด็กมีสมาธิในการเรียนเพิ่มขึ้น และมีบุคลิกภาพดีขึ้น จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อกำจัดเหานักเรียนในศูนย์เด็กเล็กตำบลเกาะสุกร

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจการกำจัดเหาเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลเกาะสุกร 2.เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีสมาธิในการเรียนเพิ่มขึ้น 3.เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีบุคลิกภาพดีขึ้น
  1. นักเรียนในศูนย์เด็กเล็กตำบลเกาะสุกรนักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่ถูกต้องและปราศจากเหา
  2. นักเรียนมีสมาธิในการเรียนเพิ่มขึ้น
  3. นักเรียนมีบุคลิกภาพดีขึ้น
80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียนในศูนย์เด็กเล็กตำบลเกาะสุกรนักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่ถูกต้องและปราศจากเหา 2.นักเรียนมีสมาธิในการเรียนเพิ่มขึ้น 3.นักเรียนมีบุคลิกภาพดีขึ้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 22 มี.ค. 2566 10:39 น.