โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ”
ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางกามีล๊ะ ดาโต๊ะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
ที่อยู่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 66-L4131-02-01 เลขที่ข้อตกลง 04/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L4131-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การเสริมสร้างสุขภาพกับการศึกษา เป็นสิ่งที่จะต้องดำเนินการควบคู่กันไป การพัฒนาเด็กและเยาวชน จึงอยู่ที่กระบวนการจัดการศึกษาและการสร้างสุขภาพ ภายใต้ความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง นับตั้งแต่ระดับครอบครัว โรงเรียน ชุมชนและองค์กรในท้องถิ่น ซึ่งจะต้องมีการประสานความร่วมมือ ประสานประโยชน์ที่เอื้อต่อการพัฒนาเด็กให้มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุขและปลอดภัย ซึ่งโรงเรียนหรือตาดีกาก็เป็นสถาบันหนึ่ง มีหน้าที่ให้ความรู้และพัฒนาคนให้มีสุขภาพที่ดี สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข นอกจากการให้การศึกษาแล้ว การส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกาย ก็เป็นปัจจัยสำคัญในการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนที่จะเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ในวันข้างหน้า การให้ความรู้ด้านสุขภาพช่วยให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ปัจจุบันการออกกำลังกายเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย เช่น แอโรบิค กระโดดเชือก ฟุตบอล เป็นต้น การกระโดดเชือกเป็นกิจกรรมการออกกำลังกายที่เล่นง่าย ที่ไม่ใช้อุปกรณ์มาก ไม่สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายหากปฏิบัติเป็นประจำสม่ำเสมอจะช่วยพัฒนาสุขภาพและสมรรถภาพทางกาย โดยเฉพาะสมรรถภาพทางด้านระบบไหลเวียนโลหิตและระบบหายใจ เมื่อร่างกายและจิตใจมีความพร้อมก็จะส่งผลดีต่อการพัฒนาด้านการเรียนรู้ให้กับเด็กนักเรียน
ด้วยเหตุนี้ ศูนย์ตาดีกานูรุลฮูดา กม.29 จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อสร้างเกราะป้องกันให้แก่เด็ก การดูแลสุขภาพ และสอนให้รู้จักแบ่งเวลาเพื่อการกีฬา และการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ทั้งนี้เพื่อให้เยาวชนมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรงทั้งร่างกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ อีกทั้งประพฤติตนเป็นคนดีและเป็นประโยชน์แก่สังคม ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่ออบรมให้ความรู้และฝึกทักษะที่จำเป็นต่อการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพและความปลอดภัยแก่เด็กนักเรียน
- เพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ “เยาวชนสุขภาพดี
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีความรู้และมีทักษะที่จำเป็นต่อการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพและมีความปลอดภัย แก่เด็กนักเรียน
- นักเรียนสามารถใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ “เยาวชนสุขภาพดี
วันที่ 25 มิถุนายน 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1 ประชุมวางแผนงาน
2 ติดต่อประสานงาน และส่งหนังสือเชิญให้กับวิทยากรและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
3 จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ต่างๆที่เกี่ยวข้อง
4 ดำเนินกิจกรรมตามกำหนดการที่วางไว้
5 สรุปผลรายงานการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
-ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพอย่างปลอดภัย
-ผู้รับการอบรมรับรู้ถึงประโยชน์ของการออกกำลังกาย
-ผู้เข้าอบรมสามารถใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
-ผู้เข้ารับการอบรมหันมาออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
90
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่ออบรมให้ความรู้และฝึกทักษะที่จำเป็นต่อการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพและความปลอดภัยแก่เด็กนักเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และฝึกทักษะที่จำเป็นต่อการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพและความปลอดภัยแก่เด็กนักเรียน
2
เพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้รับการอบรมสามารถใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
91
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่ออบรมให้ความรู้และฝึกทักษะที่จำเป็นต่อการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพและความปลอดภัยแก่เด็กนักเรียน (2) เพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ “เยาวชนสุขภาพดี
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 66-L4131-02-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางกามีล๊ะ ดาโต๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ”
ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางกามีล๊ะ ดาโต๊ะ
กันยายน 2566
ที่อยู่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 66-L4131-02-01 เลขที่ข้อตกลง 04/2566
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 66-L4131-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การเสริมสร้างสุขภาพกับการศึกษา เป็นสิ่งที่จะต้องดำเนินการควบคู่กันไป การพัฒนาเด็กและเยาวชน จึงอยู่ที่กระบวนการจัดการศึกษาและการสร้างสุขภาพ ภายใต้ความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง นับตั้งแต่ระดับครอบครัว โรงเรียน ชุมชนและองค์กรในท้องถิ่น ซึ่งจะต้องมีการประสานความร่วมมือ ประสานประโยชน์ที่เอื้อต่อการพัฒนาเด็กให้มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุขและปลอดภัย ซึ่งโรงเรียนหรือตาดีกาก็เป็นสถาบันหนึ่ง มีหน้าที่ให้ความรู้และพัฒนาคนให้มีสุขภาพที่ดี สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข นอกจากการให้การศึกษาแล้ว การส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกาย ก็เป็นปัจจัยสำคัญในการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนที่จะเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ในวันข้างหน้า การให้ความรู้ด้านสุขภาพช่วยให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ปัจจุบันการออกกำลังกายเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย เช่น แอโรบิค กระโดดเชือก ฟุตบอล เป็นต้น การกระโดดเชือกเป็นกิจกรรมการออกกำลังกายที่เล่นง่าย ที่ไม่ใช้อุปกรณ์มาก ไม่สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายหากปฏิบัติเป็นประจำสม่ำเสมอจะช่วยพัฒนาสุขภาพและสมรรถภาพทางกาย โดยเฉพาะสมรรถภาพทางด้านระบบไหลเวียนโลหิตและระบบหายใจ เมื่อร่างกายและจิตใจมีความพร้อมก็จะส่งผลดีต่อการพัฒนาด้านการเรียนรู้ให้กับเด็กนักเรียน ด้วยเหตุนี้ ศูนย์ตาดีกานูรุลฮูดา กม.29 จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อสร้างเกราะป้องกันให้แก่เด็ก การดูแลสุขภาพ และสอนให้รู้จักแบ่งเวลาเพื่อการกีฬา และการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ทั้งนี้เพื่อให้เยาวชนมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรงทั้งร่างกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ อีกทั้งประพฤติตนเป็นคนดีและเป็นประโยชน์แก่สังคม ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่ออบรมให้ความรู้และฝึกทักษะที่จำเป็นต่อการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพและความปลอดภัยแก่เด็กนักเรียน
- เพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ “เยาวชนสุขภาพดี
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีความรู้และมีทักษะที่จำเป็นต่อการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพและมีความปลอดภัย แก่เด็กนักเรียน
- นักเรียนสามารถใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ “เยาวชนสุขภาพดี |
||
วันที่ 25 มิถุนายน 2566 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ1 ประชุมวางแผนงาน 2 ติดต่อประสานงาน และส่งหนังสือเชิญให้กับวิทยากรและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง 3 จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ต่างๆที่เกี่ยวข้อง 4 ดำเนินกิจกรรมตามกำหนดการที่วางไว้ 5 สรุปผลรายงานการดำเนินงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย -ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพอย่างปลอดภัย -ผู้รับการอบรมรับรู้ถึงประโยชน์ของการออกกำลังกาย -ผู้เข้าอบรมสามารถใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ -ผู้เข้ารับการอบรมหันมาออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
|
90 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่ออบรมให้ความรู้และฝึกทักษะที่จำเป็นต่อการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพและความปลอดภัยแก่เด็กนักเรียน ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และฝึกทักษะที่จำเป็นต่อการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพและความปลอดภัยแก่เด็กนักเรียน |
|
|||
2 | เพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้รับการอบรมสามารถใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | 91 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่ออบรมให้ความรู้และฝึกทักษะที่จำเป็นต่อการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพและความปลอดภัยแก่เด็กนักเรียน (2) เพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ “เยาวชนสุขภาพดี
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 66-L4131-02-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางกามีล๊ะ ดาโต๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......