กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการพัฒนาระบบการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองกันตัง ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
สำนักงานเลขานุการกองทุนฯ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองกันตัง

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L6895-04-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 ตุลาคม 2560 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาระบบการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองกันตัง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองกันตัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาระบบการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองกันตัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L6895-04-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 ตุลาคม 2560 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เริ่มดำเนินการตั้งแต่ได้มีประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์การบริหารส่วนตำบลหรือเทศบาลดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่เมื่อวันที่28มิถุนายนพ.ศ. 2548โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการสร้างหลักประกันสุขภาพให้กับบุคคลในพื้นที่ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมตามความพร้อมความเหมาะสมและความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นและกำหนดให้องค์การบริหารส่วนตำบลและเทศบาลได้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพที่เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพการป้องกันโรคและการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพต่อการดำรงชีวิตในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ทั้งนี้เพื่อให้เป็นไปตามเจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติพุทธศักราช 2550โดยเน้นการให้บริการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคและฟื้นฟูสมรรถภาพให้กับประชาชนทุกคนซึ่งกิจกรรมหรือโครงการต่าง ๆที่ดำเนินการในกลุ่มเป้าหมายจะต้องผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารกองทุนสุขภาพที่ได้รับการแต่งตั้งขึ้นและการพิจารณางบประมาณต่าง ๆ นั้นสามารถสนับสนุนกิจกรรมใน5ลักษณะคือ 1.สนับสนุนหน่วยบริการหรือสถานบริการหรือหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ 2.การสร้างเสริมสุขภาพโดยประชาชนและชุมชนท้องถิ่น/หน่วยงานอื่น 3.การสนับสนุนการดูแลเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ คนพิการและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
4.การบริหารจัดการกองทุน/พัฒนาศักยภาพกรรมการและพัฒนาระบบบริหารจัดการ 5.กรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ เทศบาลเมืองกันตังได้เข้าร่วมดำเนินการ กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นในปี พ.ศ. 2551มีการประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานและกิจกรรมต่าง ๆ ตลอดจนการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของกองทุนสุขภาพฯและยังมีความจำเป็นในการพัฒนาและเสริมศักยภาพในการดำเนินงานกองทุนสุขภาพฯจึงได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นเทศบาลเมืองกันตังขึ้นเพื่อให้การดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพฯเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลตลอดจนเกิดประโยชน์ต่อประชาชนในพื้นที่เทศบาลเมืองกันตังต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในแนวทางการพัฒนาสุขภาพประชาชนแก่คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และภาคีเครือข่ายสุขภาพต่างๆ เช่น โรงพยาบาล โรงเรียน องค์กร/หน่วยงาน ชุมชน ชมรมต่างๆ เป็นต้น
  2. เพื่อส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างภาคีเครือข่ายสุขภาพ และภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพ และมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการจัดทำแผนสุขภาพ
  3. เพื่อเสริมศักยภาพการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพฯให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล
  4. เพื่อให้กองทุนสุขภาพมีแผนสุขภาพ/แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ของกองทุน เพื่อใช้เป็นแนวทางการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพฯ
  5. เพื่อเตรียมแผนงาน/แผนสุขภาพกองทุนสุขภาพฯ สำหรับปีงบประมาณ 2562

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมพัฒนาศักยภาพ
  2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 100

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค และมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพและมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการจัดทำแผนสุขภาพ
  2. คณะกรรมการฯสามารถเข้าใจในแนวทางบริหารกองทุนฯสามารถบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  3. เกิดการดำเนินงานอย่างบูรณาการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนร่วมในการพัฒนาองค์กร หน่วยงาน ชุมชนชมรมต่างๆให้มีความเข้มแข็ง
  4. มีแผนสุขภาพ/แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ของกองทุนสุขภาพฯเพื่อใช้เป็นแนวทางบริหารกองทุนฯ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมประชุมพัฒนาศักยภาพ

วันที่ 17 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • ลงทะเบียน
  • บรรยายเรื่อง บทบาทหน้าที่ของกรรมการกองทุนฯ/หลักพิจารณาโครงการ/แนวทางสนับสนุนโครงการจากกองทุนฯ
  • บรรยายเรื่อง แนวทางดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพน ปี 2562
  • อภิปรายผล/ปิดการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมประชุมพัฒนาศักยภาพแก่คณะกรรมการ/อนุกรรมการ/คณะกรรมการติดตามประเมินผลฯ และคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง เมื่อวันที่  17  กันยายน  2561  ณ ห้องประชุมสภา เทศบาลเมืองกันตัง  ซึ่งมีผู้เข้าร่วมการประชุม  จำนวน 27  คน  โดยมีวิทยากรบรรยายให้ความรู้เรื่อง  บทบาทหน้าที่ของกรรมการกองทุนฯ/หลักการพิจารณาโครงการ/แนวทางสนับสนุนโครงการจากกองทุนฯ และแนวทางการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ปี 2562  ซึ่งผลจากการประชุมพัฒนาศักยภาพนั้น  ทำให้ผู้เข้าร่วมการประชุมได้รับความรู้ และมีความความเข้าใจในการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ มากยิ่งขึ้น

 

26 0

2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

วันที่ 20 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • ลงทะเบียน
  • พิธีเปิด
  • บรรยายเรื่อง กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
  • บรรยายเรื่อง แนวทางการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ปี 2562
  • บรรยายเรื่อง ปัญหาสาธารณสุขในเขตเทศบาลในเขตเทศบาลเมืองกันตัง
  • บรรยายเรื่อง แนวทางการจัดทำแผนสุขภาพกองทุนฯ
  • แบ่งกลุ่มจัดทำแผนสุขภาพ 5 กลุ่ม/นำเสนอแผนสุขภาพ  กลุ่มโรคเรื้อรัง กลุ่มเหล้า/บุหรี่/ยาเสพติด กลุ่มอุบัติเหตุ/สิ่งแวดล้อม กลุ่มอนามัยแม่และเด็ก/เยาวชน กล่มผู้พิการและผู้สูงอายุ
  • สรุปผลการทำแผนสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่แนวทางการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่  ในปี 2562  ปัญหาสาธารณสุขในเขตเทศบาลเมืองกันตัง  และแนวทางการจัดทำแผนสุขภาพกองทุนฯ  โดยวิทยากรจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง  ศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองกันตัง  และสำนักงานสาธารณสุขอำเภอกันตังมาให้ความรู้ดังกล่าว  พร้อมแบ่งกลุ่มจัดทำแผนสุขภาพ  ๕  กลุ่ม  ซึ่งได้แก่  กลุ่มโรคเรื้อรัง  กลุ่มเหล้า/บุหรี่/ยาเสพติด  กลุ่มอุบัติเหตุ/สิ่งแวดล้อม  กลุ่มอนามัยแม่และเด็ก/เยาวชน  และกลุ่มผู้พิการ/ผู้สูงอายุ  โดยทีมวิทยากรจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอกันตัง  เมื่อวันที่  20  กันยายน  2561  ณ อาคารคอซิมบี๊  เทศบาลเมืองกันตัง  มีผู้เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งนี้  จำนวน  ๑๐4  คน  ผลการประชุมทำให้ได้รับทราบปัญหาสุขภาพที่สำคัญในเขตเทศบาลเมืองกันตัง  ก่อให้เกิดแนวทาง/แผนงาน/กิจกรรม/โครงการเพื่อที่จะแก้ไขปัญหา  ซึ่งกิจกรรมและแนวทางแก้ไขปัญหาที่ทางภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนเสนอมาจะรวบรวมจัดทำเป็นแผนสุขภาพของกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ  เทศบาลเมืองกันตังต่อไป

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในแนวทางการพัฒนาสุขภาพประชาชนแก่คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และภาคีเครือข่ายสุขภาพต่างๆ เช่น โรงพยาบาล โรงเรียน องค์กร/หน่วยงาน ชุมชน ชมรมต่างๆ เป็นต้น
ตัวชี้วัด : คณะกรรมการบริหารกองทุนสุขภาพฯ มีความรู้และเข้าใจในเรื่อง วัตถุประสงค์การจัดตั้งกองทุน กลุ่มเป้าหมาย ที่ต้องดูแล อำนาจหน้าที่ และการใช้จ่ายงบประมาณ ร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างภาคีเครือข่ายสุขภาพ และภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพ และมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการจัดทำแผนสุขภาพ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อเสริมศักยภาพการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพฯให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ตัวชี้วัด : สำรวจความพึงพอใจ และการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ต่อการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ปีละ 1 ครั้ง (อย่างน้อย ≥ 50 คน/ปี)
0.00

 

4 เพื่อให้กองทุนสุขภาพมีแผนสุขภาพ/แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ของกองทุน เพื่อใช้เป็นแนวทางการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพฯ
ตัวชี้วัด : มีแผนสุขภาพกองทุนสุขภาพฯ
0.00

 

5 เพื่อเตรียมแผนงาน/แผนสุขภาพกองทุนสุขภาพฯ สำหรับปีงบประมาณ 2562
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 100

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในแนวทางการพัฒนาสุขภาพประชาชนแก่คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ  และภาคีเครือข่ายสุขภาพต่างๆ  เช่น โรงพยาบาล  โรงเรียน  องค์กร/หน่วยงาน ชุมชน  ชมรมต่างๆ เป็นต้น (2) เพื่อส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างภาคีเครือข่ายสุขภาพ และภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพ และมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการจัดทำแผนสุขภาพ (3) เพื่อเสริมศักยภาพการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพฯให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล (4) เพื่อให้กองทุนสุขภาพมีแผนสุขภาพ/แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ของกองทุน เพื่อใช้เป็นแนวทางการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพฯ (5) เพื่อเตรียมแผนงาน/แผนสุขภาพกองทุนสุขภาพฯ สำหรับปีงบประมาณ 2562

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมพัฒนาศักยภาพ (2) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาระบบการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองกันตัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L6895-04-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( สำนักงานเลขานุการกองทุนฯ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด