กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร


“ โครงการอาหารฮาลาลและมีประโยชน์ โรงเรียนบ้านบูเก๊ะบือแต ประจำปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการอาหารฮาลาลและมีประโยชน์ โรงเรียนบ้านบูเก๊ะบือแต ประจำปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2477-2-07 เลขที่ข้อตกลง 22/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤษภาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอาหารฮาลาลและมีประโยชน์ โรงเรียนบ้านบูเก๊ะบือแต ประจำปีงบประมาณ 2566 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอาหารฮาลาลและมีประโยชน์ โรงเรียนบ้านบูเก๊ะบือแต ประจำปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอาหารฮาลาลและมีประโยชน์ โรงเรียนบ้านบูเก๊ะบือแต ประจำปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 66-L2477-2-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤษภาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,793.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันอาหารฮาลาล (Halal Food) เป็นเรื่องที่ได้รับความสนใจอย่างมากจากสังคมไทย มิใช่เพียงแต่ชาวไทยมุสลิมที่จำเป็นต้องบริโภคอาหารฮาลาลเท่านั้น แต่ผู้ประกอบการซึ่งต้องการผลิตอาหารฮาลาลจำหน่ายแก่ผู้บริโภคมุสลิมในประเทศและผลิตเพื่อการส่งออกในตลาดโลกมุสลิมก็จำเป็นต้องให้ความสนใจอย่างจริงจัง และดำเนินกระบวนการผลิตอาหารฮาลาลให้ถูกต้องตามบัญญัติศาสนาอิสลามและระเบียบคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทยว่าด้วยการรับรองฮาลาล พ.ศ. 2544 และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545 โดยผ่านการตรวจสอบและรับรองจากคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทยหรือคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดแล้วแต่กรณี แต่เนื่องจากปัจจุบันมีอาหารที่ฮาลาลมากมายทั้งมีประโยชน์และมีผลเสียต่อสุขภาพระยะยาว เช่น อาหารและเครื่องดื่มที่มีรสหวาน รสเค็มมากเกินไป อาหารที่ผสมสารบอแรกซ์ เช่น ลูกชิ้น ทอดมัน ไส้กรอก ผลไม้ดอง และสารอื่นๆที่ผสมอยู่ในอาหารต่างๆและส่งผลให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพและเป็นบ่อเกิดโรคต่างๆตามมา เช่น โรคอ้วน โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน ความดัน เป็นต้น ดังนั้น โรงเรียนบ้านบูเก๊ะบือแตจึงได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดโครงการอาหารฮาลาล มีประโยชน์ใส่ใจสุขภาพ โรงเรียนบ้านบูเก๊ะบือแต เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำเกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหารที่ฮาลาลเพื่อสุขภาพดีที่ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กนักเรียนในวัย 7-12 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารฮาลาลและฮารอม
  2. เพื่อให้เด็กนักเรียนในวัย 7-12 ปี มีทักษะการเลือกประเภทอาหารฮาลาลที่มีประโยชน์และไม่มีประโยชน์
  3. เพื่อให้เด็กนักเรียนในวัย 7-12 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหารที่ดีและมีผลต่อสุขภาพระยะยาว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่อง อาหารฮาลาลและฮารอม
  2. ละลายพฤติกรรม อาหารดีมีประโยชน์เพื่อสุขภาพของหนู

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 105
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารฮาลาลและฮารอม นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกียวกับการเลือกประเภทอาหารฮาลาลที่มีประโยชน์และไม่มีประโยชน์ นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหารที่ดีและมีผลต่อสุขภาพระยะยาว


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เรื่อง อาหารฮาลาลและฮารอม

วันที่ 23 มิถุนายน 2566 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.อบรมให้ความรู้ในเรื่อง   - อาหารฮาลาลและฮารอม   - อาหารฮาลาลที่มีประโยชน์และไม่มีประโยชน์   - การเลือกรับประทานอาหารที่ดีและมีผลต่อสุขภาพระยะยาว 2.จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการฯ   - นักเรียนโรงเรียนบ้านบูเก๊ะบือแต จำนวน 105 คน   - ครูพี่เลี้ยงโรงเรียนบ้านบูเก๊ะบือแต จำนวน 18 คน       รวม 123 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารฮาลาลและฮารอม 2.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหารฮาลาลที่มีประโยชน์และไม่มีประโยชน์ 3.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหารที่ดีและมีผลต่อสุขภาพระยะยาว

 

0 0

2. ละลายพฤติกรรม อาหารดีมีประโยชน์เพื่อสุขภาพของหนู

วันที่ 23 มิถุนายน 2566 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.แบ่งกลุ่มนักเรียน 5-6 กลุ่ม 2.นำเสนอผลงานแต่ละกลุ่ม 3.สรุปองค์ความรู้ที่ได้รับ 4.จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม
    4.1 นักเรียน จำนวน 105 คน     4.2 ครูพี้เลี้ยง จำนวน 18 คน         รวม 123 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารฮาลาลและฮารอม 2.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเลือกประเภทอาหารฮาลาลที่มีประโยชน์และไม่มีประโยชน์ 3.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหารที่ดีและมีผลต่อสุขภาพระยะยาว จำนวนผู้เข้าร่วม จำนวน 128 คน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารฮาลาลและฮารอม 2.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเลือกประเภทอาหารฮาลาลที่มีประโยชน์ 3.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหารที่ดีและมีผลต่อสุขภาพระยะยาว

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กนักเรียนในวัย 7-12 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารฮาลาลและฮารอม
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนในวัย 7-12 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารฮาลาลและฮารอม
105.00 105.00 105.00

 

2 เพื่อให้เด็กนักเรียนในวัย 7-12 ปี มีทักษะการเลือกประเภทอาหารฮาลาลที่มีประโยชน์และไม่มีประโยชน์
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนในวัย 7-12 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกียวกับการเลือกประเภทอาหารฮาลาลที่มีประโยชน์และไม่มีประโยชน์
105.00 105.00 105.00

 

3 เพื่อให้เด็กนักเรียนในวัย 7-12 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหารที่ดีและมีผลต่อสุขภาพระยะยาว
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนในวัย 7-12 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหารที่ดีและมีผลต่อสุขภาพระยะยาว
105.00 105.00 105.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 105 105
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 105 105
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กนักเรียนในวัย 7-12 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารฮาลาลและฮารอม (2) เพื่อให้เด็กนักเรียนในวัย 7-12 ปี มีทักษะการเลือกประเภทอาหารฮาลาลที่มีประโยชน์และไม่มีประโยชน์ (3) เพื่อให้เด็กนักเรียนในวัย 7-12 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหารที่ดีและมีผลต่อสุขภาพระยะยาว

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่อง อาหารฮาลาลและฮารอม (2) ละลายพฤติกรรม อาหารดีมีประโยชน์เพื่อสุขภาพของหนู

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอาหารฮาลาลและมีประโยชน์ โรงเรียนบ้านบูเก๊ะบือแต ประจำปีงบประมาณ 2566 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 66-L2477-2-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด