กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปลักหนู


“ โครงการเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน ”

ตำบลปลักหนู อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายคมสันติ์ ปิ่นแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน

ที่อยู่ ตำบลปลักหนู อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 66-L5203-01-06 เลขที่ข้อตกลง 07/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 สิงหาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปลักหนู อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปลักหนู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปลักหนู อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 66-L5203-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 สิงหาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปลักหนู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย พ.ศ.2555 (MICS4) ของสำนักงานสถิติแห่งชาติร่วมกับองค์การยูนิเซฟพบว่า เด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีผอมร้อยละ 6.7 เตี้ยร้อยละ 16.4 และข้อมูลการสำรวจฐานข้อมูลรูปร่างและสรีระประชากรไทย (SizeThailand) ในปี 2551 โดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) และสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) พบว่าความสูงเฉลี่ยของชายไทยอยู่ที่ 169.46 ซม. หญิง 157 ซม. โดยกลุ่มอายุ 16–25 ปี พบว่าผู้ชายมีความสูงเฉลี่ย 171.36 ซม. และหญิงสูง 159.32 ซม. ในปี 2559 นี้ กระทรวงสาธารณสุข ได้มอบให้กรมอนามัยจัดทำยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทย เริ่มตั้งแต่ในครรภ์มารดา จนกระทั่งเป็นทารก เข้าสู่วัยเรียน และวัยรุ่น เน้นการส่งเสริมโภชนาการ และการออกกำลังกาย ตั้งเป้าหมาย 20 ปีข้างหน้า ชายไทยสูง 180 ซม. และหญิงไทยสูง 167 ซม. ทั้งนี้ ข้อมูลล่าสุดในปี 2558 ของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข รายงานมีเด็กวัยเรียนที่มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วนเพียงร้อยละ 56 สาเหตุสำคัญส่วนหนึ่งเกิดจากการขาดสารอาหารเรื้อรัง ซึ่งข้อมูลวิชาการในหลายประเทศระบุว่า เด็กแรกเกิดถึง 5 ปีที่เตี้ย มักมีภูมิต้านทานต่ำ ส่งผลให้ติดเชื้อง่าย เจ็บป่วยบ่อย ป่วยนาน และรุนแรง มีโอกาสเสียชีวิตได้ และยังพบว่ามีผลต่อการพัฒนาสมอง โดยระดับสติปัญญาต่ำกว่าเด็กที่มีส่วนสูงตามเกณฑ์ พัฒนาการล่าช้า และความสามารถในการเรียนรู้บกพร่อง ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม เฉื่อยชา ความสูงต่างกันมากกว่า 3.4 ซม.มีผลต่อเกรดที่เพิ่มขึ้น นอกจากนี้ เด็กที่มีน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 2,500 กรัม หรือมีภาวะเตี้ยมีความเสี่ยงสูงป่วยเป็นโรคเรื้อรังเมื่อโตเป็นผู้ใหญ่ เช่น โรคกระดูกพรุน โรคอ้วน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือดอีกด้วย กรมอนามัย ได้ดำเนินการส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยอย่างต่อเนื่อง อาทิจัดทำโครงการส่งเสริมโภชนาการเด็กปฐมวัย สูงดี สมส่วน สมองดี แข็งแรง และโครงการเด็กวัยเรียนวัยใสโภชนาการดี เพื่อส่งเสริมเด็กปฐมวัยและวัยเรียนให้มีส่วนสูงระดับดี และรูปร่างสมส่วน แก้ไขปัญหาเตี้ย ผอม อ้วน รวมทั้งบูรณาการการดำเนินงานในคลินิกฝากครรภ์ คลินิกเด็กดี หมู่บ้าน ศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียน นอกจากนี้ ได้พัฒนาระบบเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและการเจริญเติบโตของเด็ก ตั้งแต่โรงพยาบาล ในคลินิกฝากครรภ์และคลินิกสุขภาพเด็กดี ในชุมชน/หมู่บ้าน ศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียน การให้ความรู้ทางโภชนาการในโรงเรียนพ่อแม่ รวมทั้งประสานความร่วมมือและสนับสนุนสื่อให้กับชุมชน ศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียน ในการจัดอาหารตามวัยในครอบครัว และการจำหน่ายอาหารว่างที่มีประโยชน์ในชุมชน รอบรั้วศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียน เพื่อให้เด็กมีการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ สูงดีสมส่วน สมองดี แข็งแรง ลดการเจ็บป่วยเป็นรากฐานของการเจริญเติบโตที่ดีในวัยเรียน เติบโตเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ ซึ่งการเพิ่มส่วนสูงมีระยะเวลาจำกัด ผู้ชายหยุดสูงเมื่ออายุ 18-19 ปี ผู้หญิงหยุดสูงเมื่ออายุ 16-17 ปี ช่วงโอกาสทองในการเพิ่มความสูงของเด็กให้สมวัยคือ ช่วงวัยรุ่น ซึ่งเป็นช่วงที่ร่างกายจะเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว เด็กหญิงจะโตเร็วกว่าเด็กชาย 2 ปี เริ่มเข้าวัยรุ่นตั้งแต่ 9 ปี และความสูงจะเพิ่มมากที่สุดในช่วงอายุ 11-12 ปี ปีละ 6-7 ซม. ส่วนเด็กผู้ชายจะเริ่มเข้าวัยรุ่นเมื่ออายุ 11 ปี และสูงเพิ่มมากที่สุดตอนอายุ 13-14 ปี ปีละ 8-9 ซม. จึงต้องเตรียมร่างกายให้พร้อมก่อนที่จะเข้าสู่ช่วงที่มีความสูงเพิ่มมากที่สุด โดยรับประทานอาหาร 5 กลุ่มได้แก่ ข้าว-แป้ง ผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์และนม ครบ 3 มื้อหลักในปริมาณเพียงพอ หลากหลาย และอาหารว่าง เช้า-บ่าย เช่นนมจืด ผลไม้ ขนมไทยรสไม่หวานจัด ไม่กินจุบจิบ ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ เช่นวิ่งเล่น กระโดดเชือก ว่ายน้ำ และนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อยวันละ 8 ชั่วโมง  จากการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็กวัยเรียนอายุ 6 -14 ปี ในปีการศึกษา 2561 ภาคเรียนที 1 ในเขตโรงพยาบาลส่งเสริม-สุขภาพตำบลปลักหนู เดือน พฤษภาคม 2562 – มิถุนายน 2562 พบว่าอยู่ในเกณฑ์สูงดีสมส่วน ร้อยละ 52.72 และ เดือน ตุลาคม 2562 – พฤศจิกายน 2562 พบว่าอยู่ในเกณฑ์สูงดีสมส่วน ร้อยละ 63.33 จากจำนวนนักเรียนที่ ได้รับการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงทั้งหมด 926 คน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปลักหนู จึงเล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วนนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีส่วนสูงอยู่ในระดับดีและรูปร่างสมส่วน
  2. ร้อยละของเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 66)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 180
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.เด็ก 6- 14 ปี ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการครอบคลุม 2.ปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก 6 -14ปี ลดลง 3.ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ในการดูแลเด็กด้านโภชนาการและการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีส่วนสูงอยู่ในระดับดีและรูปร่างสมส่วน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 66)
    0.00

     

    2 ร้อยละของเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 66)
    ตัวชี้วัด : เด็กวัยเรียนมีความรู้เรื่องโภชนาการหลังจากเข้ารับจากอบรม
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 180
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 180
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีส่วนสูงอยู่ในระดับดีและรูปร่างสมส่วน (2) ร้อยละของเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 66)

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 66-L5203-01-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายคมสันติ์ ปิ่นแก้ว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด