กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง


“ โครงการเบตงฮูลูร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2566 ”

ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวปรารถนา ธัมมากาศ

ชื่อโครงการ โครงการเบตงฮูลูร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2566

ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2566-L7161-02-17 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2566 ถึง 29 ธันวาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเบตงฮูลูร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2566 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเบตงฮูลูร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเบตงฮูลูร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2566-L7161-02-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2566 - 29 ธันวาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 57,081.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ไข้เลือดออกเป็นปัญหาหนึ่งที่สำคัญของสาธารณสุขไทยตลอดระยะเวลาหลายปี เพราะเป็นโรคติดต่อที่สร้างความเจ็บป่วยในระดับรุนแรงจนอาจถึงแก่ชีวิต เป็นผลให้ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลพุ่งสูงขึ้น เกิดความความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ขณะที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาอย่างต่อเนื่องชุมชนเบตงฮูลู ก็เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง ชุมชนเบตงฮูลู มีจำนวนครัวเรือนทั้งหมด 395 ครัวเรือน ประชากรทั้งหมด 1,434 คน พบผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 6 ราย ในปี พ.ศ.2560 – 2561และในปี 2562 พบผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 11 ราย ในปี 2563 พบผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 3 รายและในปี พ.ศ 2566 พบผู้ป่วย จำนวน 2 ราย (ข้อมูลจากศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองศาลาประชาคม) จากผลการสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายตามบ้านจำนวน 250 ครัวเรือน (HI,CI) พบลูกน้ำยุงลาย 52 ครัวเรือน จำนวนภาชนะที่สำรวจ 413 ชิ้น พบลูกน้ำยุงลายจำนวน 86 ชิ้น มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (HI,CI) คิดเป็นร้อยละ 13 และ 23 ตามลำดับซึ่งเกินค่ามาตรฐาน
โรคไข้เลือดออกส่วนมากจะพบผู้ป่วย ในช่วงเดือน มีนาคม-กันยายน ของทุกปี ซึ่งเป็นช่วงระหว่างปิดภาคเรียนพอดี และชีวนิสัยของยุงชอบออกหากินเวลากลางวัน อสม, เบตงฮูลู เล็งเห็นว่า การแพร่เชื้อและการกระจายโรค จะเกิดขึ้นได้ทั้งชุมชน โรงเรียน มัสยิด การควบคุมโรคจะต้องอาศัยความร่วมมือทั้งจาก ชุมชน โรงเรียน เทศบาล โรงพยาบาลและหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง โรคไข้เลือดออกสามารถป้องกันได้โดยการให้ประชาชนร่วมมือกันทำความสะอาด ปรับปรุงสภาพแวดล้อมของบ้านและชุมชน โดยนำมาตรการป้องกันโรคไข้เลือดออก 5 ป 1 ข มาใช้ ได้แก่ 1.ปิด ปิดภาชนะกักเก็บน้ำ 2. เปลี่ยน เปลี่ยนถ่ายน้ำ ทุก 7 วัน เช่น แจกันดอกไม้ ถังเก็บน้ำสำหรับอาบ 3. ปล่อย ปลาหางนกยูง หรือปลากินลูกน้ำในอ่างบัว หรือที่กักเก็บน้ำที่ไม่มีฝาปิด 4. ปรับปรุง สิ่งแวดล้อมไม่ให้มีน้ำขังในที่ต่าง ๆ 5. ปฏิบัติการดังกล่าวข้างต้นเป็นประจำทุกสัปดาห์ และในช่วงฤดูร้อนต่อช่วงฤดูฝน ต้องเพิ่ม 1 ข คือ ขัดภาชนะที่เคยใช้กักเก็บน้ำก่อนมารองรับน้ำครั้งใหม่
ดังนั้น อสม. ชุมชนเบตงฮูลู จึงได้จัดทำโครงการเบตงฮูลูร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2566 เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกเพื่อความครอบคลุมของการรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชนตามเป้าหมายเพื่อป้องกันและลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน
  2. 2. เพื่อป้องกันและลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่ เยาวชนและประชาชนทั่วไป
  2. รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชากรในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก และป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดได้
  2. ประชาชนให้ความร่วมมือในการแก้ปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
  3. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่ เยาวชนและประชาชนทั่วไป

วันที่ 1 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วิธีการดำเนินงาน (ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)               1.ประสานงานกับหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อนำข้อมูลสถานการณ์โรคมาจัดทำโครงการ               2. ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง และกำหนดวัน เวลาและสถานที่ในการดำเนินการ               3. ทำโครงการเสนอคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองเบตง เพื่อสนับสนุนฯ               4.จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ในการดำเนินโครงการ               5. ดำเนินงานกิจกรรมตามโครงการ ดั้งนี้                           - อบรมเชิงปฏิบัติการแก่เด็กนักเรียน ประชาชน โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขให้ความรู้โรคไข้เลือดออกสาธิตและปฏิบัติการใช้วัสดุ อุปกรณ์ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกและการทำสเปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุง                           - รณรงค์ภายในชุมชนให้ตระหนักถึงการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออก             6. สรุปผลโครงการและรายงานผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผลการดำเนินงาน กิจกรรมที่ 1 จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ประกอบการอบรมครบตามเอกสารที่แนบ อบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่เยาวชนและประชาชนทั่วไป ได้ตั้งกลุ่มเป้าหมายจำนวน 150 คน มีผู้เข้าร่วมรับการอบรมจำนวน 153 คน คิดเป็นร้อยละ 100 และสามารถประเมินผลการอบรมตามวัตถุประสงคืได้ดังนี้           วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน           พบว่า มีความรู้ร้อยละ 90 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก  และป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออกได้           สรุป บรรลุตามวัถุประสงค์ข้อที่ 1
          วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 เดินรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน พบว่า ประชาชนให้ความร่วมมือในแก้ปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ทำให้อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง           สรุปบรรลุตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 2
ข้อเสนอแนะ     1.1 แนะนำให้ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย     1.2 แนะนำขัดล้างที่กักน้ำทุก7 วันและหยอดทรายอะเบทในชนะที่กักเก็บน้ำ     1.3 แนนำฉีดสเปรย์ไล่ยุง

 

150 0

2. รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย

วันที่ 18 พฤศจิกายน 2566 เวลา 16:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วิธีการดำเนินงาน (ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)               1.ประสานงานกับหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อนำข้อมูลสถานการณ์โรคมาจัดทำโครงการ               2. ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง และกำหนดวัน เวลาและสถานที่ในการดำเนินการ               3. ทำโครงการเสนอคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองเบตง เพื่อสนับสนุนฯ               4.จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ในการดำเนินโครงการ               5. ดำเนินงานกิจกรรมตามโครงการ ดั้งนี้                           - อบรมเชิงปฏิบัติการแก่เด็กนักเรียน ประชาชน โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขให้ความรู้โรคไข้เลือดออกสาธิตและปฏิบัติการใช้วัสดุ อุปกรณ์ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกและการทำสเปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุง                           - รณรงค์ภายในชุมชนให้ตระหนักถึงการควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออก             6. สรุปผลโครงการและรายงานผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผลการดำเนินงาน กิจกรรมที่ 1 จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ประกอบการอบรมครบตามเอกสารที่แนบ อบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่เยาวชนและประชาชนทั่วไป ได้ตั้งกลุ่มเป้าหมายจำนวน 150 คน มีผู้เข้าร่วมรับการอบรมจำนวน 153 คน คิดเป็นร้อยละ 100 และสามารถประเมินผลการอบรมตามวัตถุประสงคืได้ดังนี้           วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน           พบว่า มีความรู้ร้อยละ 90 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก  และป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออกได้           สรุป บรรลุตามวัถุประสงค์ข้อที่ 1
          วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 เดินรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน พบว่า ประชาชนให้ความร่วมมือในแก้ปัญหาและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ทำให้อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง           สรุปบรรลุตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 2
ข้อเสนอแนะ     1.1 แนะนำให้ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย     1.2 แนะนำขัดล้างที่กักน้ำทุก7 วันและหยอดทรายอะเบทในชนะที่กักเก็บน้ำ     1.3 แนนำฉีดสเปรย์ไล่ยุง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 85 ของบุคคล ครอบครัว ในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก
0.00

 

2 2. เพื่อป้องกันและลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : 2. ลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน (2) 2. เพื่อป้องกันและลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่ เยาวชนและประชาชนทั่วไป (2) รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเบตงฮูลูร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2566 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2566-L7161-02-17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวปรารถนา ธัมมากาศ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด