กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู


“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด ”

ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางคอรีเยาะ สลีมิน

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด

ที่อยู่ ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง /2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 กรกฎาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 กรกฎาคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากรในกลุ่มแม่และเด็ก เป็นเป้าหมายหนึ่งที่ทางกระทรวงสาธารณสุขได้ให้ความสำคัญเป็นอย่างมาก เนื่องจากรากฐานในการซึ่งจะได้มาในทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพของประเทศในอนาคตและทางกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดงานอนามัยแม่และเป็นยุทธศาสตร์หนึ่ง เพื่อการตั้งครรภ์และการคลอดเป็นไปด้วยความราบรื่น มารดาและทารกปลอดภัย ปราศจากภาวะแทรกซ้อนและการคลอดก่อนกำหนด การคลอดก่อนกำหนดเป็นสาเหตุสำคัญของการตายและภาวะทุพพลภาพของทารกแรกเกิด ปัญหาการคลอดก่อนกำหนด เกิดจากปัจจัยเสี่ยงทั้งด้านกายภาพ ชีวภาพ สารเคมี สิ่งแวดล้อม และจิตสังคม ซึ่งมีผลทำให้เกิดการคลอดก่อนกำหนด เช่น การปฏิบัติตนของมารดา เรื่องโภชนาการขณะตั้งครรภ์ การใช้ยาและสารเสพติด และการติดตามทารกในครรภ์ ผลกระทบจากการที่มารดาคลอดก่อนกำหนด เพื่อลดอัตราคลอดก่อนกำหนด โดยมีเกณฑ์จำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ เป้าหมายร้อยละ 60 จำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 8 ครั้ง    ตามเกณฑ์เป้าหมายร้อยละ 70 จำนวนทารกแรกคลอดน้ำหนักตัวน้อยกว่า 2,500 กรัม เป้าหมาย ไม่เกิน ร้อยละ 7 และหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดเป้าหมาย ไม่เกินร้อยละ10
จำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ จำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ  8 ครั้ง และภาวะซีดเป็นปัญหาหนึ่งที่สำคัญในหญิงตั้งครรภ์จากผลการดำเนินงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโกตาบารู ในปี พ.ศ.2565 ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2564 – กันยายน 2565 ผลการดำเนินงาน ดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครบ 8 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 62.50 และ (เกณฑ์มากกว่าร้อยละ 70) หญิงตั้งครรภ์รายใหม่มาฝากครรภ์อายุครรภ์น้อยกว่า 12 สัปดาห์ ร้อยละ 78.95 (เกณฑ์ร้อยละ 80) หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด ครั้งที่1 ร้อยละ 35.29 (เกณฑ์น้อยว่าร้อยละ 14 ) ส่งผลทำให้มารดาและบุตรมีความเสี่ยงต่อสุขภาพอนามัยในวัยเด็กวัยก่อนเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของการพัฒนาการ ผลกระทบของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดจะส่งผลทั้งต่อหญิงตั้งครรภ์และต่อทารกด้วย คือทารกที่เกิดมาอาจจะมีน้ำหนักแรกคลอดน้อยกว่า 2,500 กรัม ส่วนหญิงตั้งครรภ์มีความเสี่ยงต่อการแท้งบุตร การคลอดก่อนกำหนด เกิดภาวะช็อค/เสียชีวิตขณะคลอดได้ในกรณีที่มีอาการตกเลือดจากการดำเนินงานที่ยังไม่ประสบผลสำเร็จพบว่าหญิงตั้งครรภ์ยังขาดความตระหนัก ความรู้ และประโยชน์เกี่ยวกับการดูแลในขณะตั้งครรภ์ ประกอบกับแกนนำในชุมชนยังขาดความตระหนัก ความรู้ และแนวทางในการปฏิบัติงาน ดังนั้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโกตาบารู ร่วมบูรณาการภาคีเครือข่ายท้องท้องถิ่น ท้องที่ ได้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ผู้นำทางศาสนา และผู้บริหารสถานศึกษา จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อสร้างความตระหนักรู้และการรับรู้ให้กับประชาชนเด็กและเยาวชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป้าหมายที่กำลังวางแผนจะมีบุตร เข้ารับบริการการตรวจสุขภาพและโรคหรือความเสี่ยงอื่น มีความสมบูรณ์ของร่างกายก่อนที่จะตั้งครรภ์ และเมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์ภายใน 12 สัปดาห์ ให้ดำเนินการฝากครรภ์ในสถานพยาบาล เพื่อนำไปสู่การมีส่วนร่วมในแก้ไขปัญหาด้านการคลอดก่อนกำหนดได้อย่างถูกต้องต่อไปและการดูแลหญิงตั้งครรภ์โดยการแนะนำในเรื่องการปฏิบัติตัวของหญิงตั้งครรภ์ได้อย่างถูกต้องจะช่วยลดภาวะเสี่ยงต่างๆ ในหญิงตั้งครรภ์ได้ โดยเฉพาะช่วยในเรื่องการคลอดก่อนกำหนด (37 สัปดาห์)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจครรภ์เมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์ได้เร็วก่อนอายุครบ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 60

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมโรงเรียนพ่อแม่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 300
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 300
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงตั้งครรภ์ มีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองขณะตั้งครรภ์ และมีความตระหนักถึงความสำคัญของโรคภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพให้ดีขึ้น ทำให้ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ลดลง กระตุ้นให้หญิงตั้งครรภ์เห็นความสำคัญภาวะซีดภาวะซีดในขณะตั้งครรภ์ เพื่อนำความรู้ในการอบรมไปปฏิบัติได้ถูกต้องและเหมาะสม
  2. แกนนำสุขภาพและผู้ที่เกี่ยวข้องในชุมชนมีความตื่นตัวและตระหนักในงานอนามัยและเด็ก
  3. หญิงตั้งครรภ์ได้รับความรู้และสามารถดูแลสุขภาพได้อย่างเหมาะสม
  4. หญิงตั้งครรภ์คลอดอย่างปลอดภัย และลูกเกิดรอด

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจครรภ์เมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์ได้เร็วก่อนอายุครบ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 60
ตัวชี้วัด : 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจครรภ์เมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์ได้เร็วก่อนอายุครรภ์ครบ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 60 2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตัวเองขณะตั้งครรภ์ 3. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยง 4. เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการค้นหาหญิงตั้งครรภ์ 4. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้เกี่ยวกับงานอนามัยแม่และเด็ก 5. เพื่อลดภาวะทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อยกว่า 2,500 กรัม ไม่เกิน ร้อยละ 7 6. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนและสร้างความตระหนักในคุณค่าของการ เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 7. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดและมีภาวะเสี่ยงใกล้คลอดน้อยกว่า ร้อยละ 10 8. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 8 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ70
300.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 600
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 300
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 300
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจครรภ์เมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์ได้เร็วก่อนอายุครบ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 60

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมโรงเรียนพ่อแม่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางคอรีเยาะ สลีมิน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด