กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนทราย


“ ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกปี 2567 ”

ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
กลุ่มอาสาสมัครพ่นหมอกควันพิชิตยุงลาย

ชื่อโครงการ ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกปี 2567

ที่อยู่ ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกปี 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนทราย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนทราย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขและเป็นปัญหาซึ่งปัจจุบันมีแนวโน้มของการเกิดโรคสูงขึ้น ในอดีตที่ผ่านมา กลุ่มผู้ป่วยส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 70-75 เป็นผู้ป่วยในกลุ่มอายุ 5-14 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มเด็กวัยเรียนและการเกิดโรคมักจะระบาดในช่วงฤดูฝน สำหรับสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกในจังหวัดปัตตานีตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 25๖๖ ถึงวันที่ 18 กันยายน 25๖๖ ได้รับรายงานผู้ป่วยโรค ไข้เลือดออก จำนวนทั้งสิ้น 1,515 ราย คิดเป็นอัตราป่วย  224.11 ต่อประชากรแสนคน มีรายงานผู้เสียชีวิต 1 ราย  อัตราตายต่อประชากรแสนคน เท่ากับ  0.15  อัตราผู้ป่วยตายเท่ากับร้อยละ 0.07 สำหรับสถานการณ์โรคไข้เลือดออก ของอำเภอไม้แก่น ได้รับรายงานผู้ป่วยโรค ไข้เลือดออก จำนวนทั้งสิ้น ๓๕ ราย คิดเป็นอัตราป่วย  37.66 ต่อประชากรแสนคน สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ของรพ.สต.บ้านป่าไหม้ และรพ.สต.รังมดแดง ตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม - ๑๘ สิงหาคม ๒๕๖๕๖ ได้รับรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกทั้งหมด จำนวน ๒๓ ราย อัตราป่วย 669.97 ต่อประชากรแสนคน  กลุ่มอายุที่ พบสูงที่สุดคือ กลุ่มอายุ 5-10 ปี และ กลุ่ม อายุ ๑๕-๒๔ ซึ่งทั้ง ๒ กลุ่ม พบจำนวนผู้ป่วยเท่ากัน คือ กลุ่มละ ๓ ราย รองลงมา คือ ๓๕-๔๔ ปี พบผู้ป่วย เท่ากัน คือ 1 ราย คิดเป็น 30.12ต่อประชากรแสนคน
    ยุทธศาสตร์การดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ที่สำคัญประการหนึ่งคือการ  ควบคุมลูกน้ำยุงลาย ดัชนีลูกน้ำยุงลายจะต้องไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน แต่จากผลการประเมินดัชนีลูกน้ำยุงลายของตำบลดอนทราย  ในรอบที่ผ่านมา พบว่า หมู่ ๑ บ้านป่าไหม้ และหมู่ที่ ๓ บ้านละเวง มีค่าดัชนี ลูกน้ำยุงลายเกินเกณฑ์ มาตรฐาน เป็นผลให้ปีที่ผ่านมา หมู่ ๑ บ้านป่าไหม้มีผู้ป่วยมากที่สุดในตำบล ดอนทราย อีกทั้งประชาชนไม่ค่อยให้ความร่วมมือในการกำจัดและสำรวจลูกน้ำยุงลายในบ้านตัวเอง การควบคุมลูกน้ำยุงลายให้ได้ผล ต้องอาศัยความร่วมมือ  ร่วมใจจากประชาชนในแต่ละหมู่บ้าน โรงเรียน  ดำเนินการกำจัดลูกน้ำยุงลาย ทุกหลังคาเรือน  อย่างต่อเนื่อง  โดยเน้นให้มีการดำเนินงานให้มีความครอบคลุมมากขึ้น มีการนำระบบแผนที่หมู่บ้านมาใช้และช่วยในการประเมินผลและควบคุมลูกน้ำยุงลายให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น อันจะส่งผลให้สามารถลดการระบาดของโรคลงได้ อีกทั้งยังต้องสร้างความตระหนักให้กับชุมชน ท้องถิ่น การให้ความรู้ข้อมูลข่าวสารที่เข้าถึงประชาชนได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว ซึ่งจะเป็นส่วนสนับสนุนให้การป้องกันโรคได้ผลมากยิ่งขึ้น กลุ่มอาสาสมัครพ่นหมอกควัน จึงได้จัดทำโครงการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ปี ๒๕๖๗ ขึ้น โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อลดอัตราป่วยของโรคไข้เลือดออกลงให้เหลือน้อยที่สุด เนื่องจาก เป็นปีที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกมากกว่าทุกปี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อกำจัดยุงลายไม่ให้แพร่เชื้อหรือทำการขยายพันธุ์ต่อไปได้อีก
  2. 2.เพื่อไม่ให้มีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
  3. 3.เพื่อให้ประชาชนได้ตื่นตัวตระหนักถึงอันตรายจากโรคไข้เลือดออก
  4. 4.เพื่อควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ชมรมอาสาสมัครพิชิตยุงลายออกปฏิบัติการพ่นหมอกควันหลังได้รับแจ้งจาก รพสต. ได้โดยเร็ว
      1. ระงับการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพ
      2. .กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการปฏิบัติงานของชมรมฯ(โดยใช้แบบสอบถาม)

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อกำจัดยุงลายไม่ให้แพร่เชื้อหรือทำการขยายพันธุ์ต่อไปได้อีก
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2.เพื่อไม่ให้มีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3.เพื่อให้ประชาชนได้ตื่นตัวตระหนักถึงอันตรายจากโรคไข้เลือดออก
    ตัวชี้วัด :

     

    4 4.เพื่อควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อกำจัดยุงลายไม่ให้แพร่เชื้อหรือทำการขยายพันธุ์ต่อไปได้อีก (2) 2.เพื่อไม่ให้มีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ (3) 3.เพื่อให้ประชาชนได้ตื่นตัวตระหนักถึงอันตรายจากโรคไข้เลือดออก (4) 4.เพื่อควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกปี 2567 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( กลุ่มอาสาสมัครพ่นหมอกควันพิชิตยุงลาย )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด