กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะมิยอ


“ โครงการ "สานพลังชุมชน ปลอดบุหรี่ ลดปัจจัยเสี่ยงเกิดโรคติดต่อไม่เรื้อรังในผู้นำชุมชน เขตตำบลกะมิยอ ประจำปี 2567 ”

ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลรอแม มามะ

ชื่อโครงการ โครงการ "สานพลังชุมชน ปลอดบุหรี่ ลดปัจจัยเสี่ยงเกิดโรคติดต่อไม่เรื้อรังในผู้นำชุมชน เขตตำบลกะมิยอ ประจำปี 2567

ที่อยู่ ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3009-01-3 เลขที่ข้อตกลง 003/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ "สานพลังชุมชน ปลอดบุหรี่ ลดปัจจัยเสี่ยงเกิดโรคติดต่อไม่เรื้อรังในผู้นำชุมชน เขตตำบลกะมิยอ ประจำปี 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะมิยอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ "สานพลังชุมชน ปลอดบุหรี่ ลดปัจจัยเสี่ยงเกิดโรคติดต่อไม่เรื้อรังในผู้นำชุมชน เขตตำบลกะมิยอ ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ "สานพลังชุมชน ปลอดบุหรี่ ลดปัจจัยเสี่ยงเกิดโรคติดต่อไม่เรื้อรังในผู้นำชุมชน เขตตำบลกะมิยอ ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3009-01-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,420.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะมิยอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

บุหรี่เป็นสาเหตุหนึ่งของการเสียชีวิตที่สำคัญ ซึ่งองค์การอนามัยโลกรายงานว่าประชากรโลกเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ปีละ    4 ล้านคน โดยบุหรี่/ยาสูบ เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดโรคมะเร็งปอด โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โรคหัวใจและหลอดเลือด เส้นโลหิตในสมองแตกหรือตีบ ซึ่งเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) ที่ทำให้สูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและมีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย โดยเฉพาะจากสารพิษในบุหรี่ให้กับผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและประชาชนจึงมีความจำเป็นในการลดการเกิดโรคที่สำคัญดังกล่าว และเป็นการลดการสูญเสียทางเศรษฐกิจที่เกิดจากการเป็นโรคที่มีสาเหตุจากการสูบบุหรี่ จากข้อมูลขององค์การอนามัยโลกล่าสุดพบว่าแต่ละปีมีผู้เสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ปีละ 5,000,000 คนบุหรี่ นอกจากจะเป็นสาเหตุสำคัญของการป่วยด้วยโรคต่างๆ แล้ว การสูบบุหรี่ยังก่อความสูญเสียต่อเศรษฐกิจอย่างมหาศาลอีกด้วย โดยจากรายงานของธนาคารโลกพบว่า การสูบบุหรี่ก่อความสูญเสียต่อเศรษฐกิจทั่วโลก 8 ล้านบาทต่อปี ปัจจุบันทั่วโลกมีผู้สูบบุหรี่เป็นประจำประมาณ 1,100 ล้านคน จะมีผู้เสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ปีละ 10 ล้านคน โดยเป็นประชากรของประเทศพัฒนาแล้ว 3 ล้านคน และประเทศกำลังพัฒนา 7 ล้านคน จากข้อมูลสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ในปี 2565 พบว่า อัตราการบริโภคยาสูบของกลุ่มเยาวชนอายุระหว่าง 15-24 ปี ร้อยละ 15.2 สูงเป็นอันดับสามรองจากประชากรกลุ่มวัยทำงานอายุระหว่าง 25-59 ปี และกลุ่มประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป นอกจากนี้เยาวชนและสตรียังมีแนวโน้มสูบบุหรี่เพิ่มมากขึ้น       สถานการณ์ดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า การสูบบุหรี่มีผลในการเกิดโรคติดต่อไม่เรื้อรัง ของคนในประเทศไทยมากขึ้น เขตตำบลกะมิยอ มีมัสยิด ทั้งสิ้น 9 แห่ง มีผู้นำศาสนาทั้งสิ้น 50 ราย สูบบุหรี่ 35 ราย ไม่สูบบุหรี่ 15 ราย องค์การบริหารส่วนตำบลกะมิยอจึงดำเนินโครงการ "สานพลังชุนชน ปลอดบุหรี่ ลดปัจจัยเสี่ยงเกิดโรคติดต่อไม่เรื้อรังในผู้นำชุมชน เขตตำบลกะมิยอ ปี 2567 " เพื่อเป็นต้นแบบในการขับเคลื่อนให้มัสยิดเป็นสถานที่ที่เป็นเขตปลอดบุหรี่ เพื่อสุขภาพที่ดีของประชาชนครอบครัว และชุมชน เพราะถือว่า “มัสยิด” ถือว่าเป็นศูนย์กลางทางวัฒนธรรมที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจของประชาชน คติความเชื่อ ประเพณีท้องถิ่น เป็นศูนย์รวมให้ชาวบ้านกับชุมชนมีความสัมพันธ์กันอย่างเหนียวแน่น และเป็นสัญลักษณ์ทางกายภาพและจิตวิญญาณที่มีเอกลักษณ์เฉพาะแต่ละท้องถิ่น มัสยิดและชุมชนต้นแบบในสร้างสุขภาพ จึงเป็นรูปแบบหนึ่งโดยใช้คนในชุมชนเป็นศูนย์กลางในการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ กับประชาชน ชุมชน โดยมีคณะกรรมการขับเคลื่อนเพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านมีการส่งเสริมสุขภาพที่ดี มีการจัดสภาพสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพ และเกิดการมีส่วนร่วมของบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยให้ชุมชนเอื้อโอกาสต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชน การสูบบุหรี่ เป็นสาเหตุสำคัญ ทำให้เกิดโรคที่คุกคามและเป็นอันตรายต่อชีวิต ได้แก่ โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โรคมะเร็งปอด โรคหลอดเลือด เป็นต้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน มีความรู้และการเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบต่อภาวะสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นจากการ สูบบุหรี่
  2. เพื่อให้เกิดข้อตกลงร่วมในการควบคุมบุหรี่/ยาสูบ ภายในมัสยิดในเขตตำบลกะมิยอ
  3. เพื่อให้เกิดสภาพแวดล้อมในการควบคุมบุหรี่/ยาสูบ ในชุมชน มัสยิด ให้เป็นเขตปลอดบุหรี่ ตามกฎหมาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้และการเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบต่อภาวะสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นจากการสูบบุหรี่
  2. ค่าตอบแทนวิทยากร
  3. กิจกรรมรณรงค์เพื่อปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมในการควบคุมบุหรี่/ยาสูบ ในชุมชน มัสยิด ให้เป็นเขตปลอดบุหรี่ ตามกฎหมาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้นำศาสนาที่สูบบุหรี่ในชุมชนสามารถลด ละ เลิกบุหรี่ได้
  2. ผู้นำศาสนามีความรู้และการเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบต่อภาวะสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นจากการสูบบุหรี่
  3. ผู้นำศาสนาสามารถขับเคลื่อนในการจัดกิจกรรมกลุ่มส่งเสริมสุขภาพอย่างต่อเนื่องในระดับหมู่บ้านให้ประชาชนเห็น
  4. ความสำคัญของพิษบุหรี่ ผลกระทบและความสูญเสีย ทั้งโดยทางตรงและทางอ้อมนำไปสู่การลด ละ เลิกสูบบุหรี่ มีเขตปลอดบุหรี่ตามกฎหมายใน มัสยิด

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน มีความรู้และการเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบต่อภาวะสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นจากการ สูบบุหรี่
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้นำศาสนา ได้รับความรู้และการเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบทางสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นจากการสูบบุหรี่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 80

 

2 เพื่อให้เกิดข้อตกลงร่วมในการควบคุมบุหรี่/ยาสูบ ภายในมัสยิดในเขตตำบลกะมิยอ
ตัวชี้วัด : ผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน ร้อยละ 100 ทำข้อตกลงในการควบคุมบุหรี่/ยาสูบในชุมชน

 

3 เพื่อให้เกิดสภาพแวดล้อมในการควบคุมบุหรี่/ยาสูบ ในชุมชน มัสยิด ให้เป็นเขตปลอดบุหรี่ ตามกฎหมาย
ตัวชี้วัด : เกิดสถานที่ปลอดบุหรี่ตามกฎหมายเพิ่มขึ้น ในมัสยิดเขตตำบล กะมิยอ จำนวน 9 แห่ง

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน มีความรู้และการเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบต่อภาวะสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นจากการ สูบบุหรี่ (2) เพื่อให้เกิดข้อตกลงร่วมในการควบคุมบุหรี่/ยาสูบ ภายในมัสยิดในเขตตำบลกะมิยอ (3) เพื่อให้เกิดสภาพแวดล้อมในการควบคุมบุหรี่/ยาสูบ ในชุมชน มัสยิด ให้เป็นเขตปลอดบุหรี่ ตามกฎหมาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้และการเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบต่อภาวะสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นจากการสูบบุหรี่ (2) ค่าตอบแทนวิทยากร (3) กิจกรรมรณรงค์เพื่อปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมในการควบคุมบุหรี่/ยาสูบ ในชุมชน มัสยิด ให้เป็นเขตปลอดบุหรี่ ตามกฎหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ "สานพลังชุมชน ปลอดบุหรี่ ลดปัจจัยเสี่ยงเกิดโรคติดต่อไม่เรื้อรังในผู้นำชุมชน เขตตำบลกะมิยอ ประจำปี 2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3009-01-3

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดุลรอแม มามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด