กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี


“ เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหานักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียน ประจำปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางลีนา อีซอ

ชื่อโครงการ เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหานักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียน ประจำปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 13/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 29 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหานักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียน ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหานักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียน ประจำปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหานักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียน ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 29 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,025.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่สำคัญของประเทศชาติ ในการที่จะพัฒนาบ้านเมืองให้เจริญก้าวหน้าและมั่นคง เด็กทุกคนควรได้รับการเอาใจใส่จากครอบครัวชุมชนและรัฐเพื่อส่งเสริมให้เด็กๆ เหล่านั้นได้รับการศึกษา ที่รัฐจัดให้ ได้รับการพัฒนาในด้านสุขภาพร่างกายและจิตใจ โดยเฉพาะเด็กก่อนวัยเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญาจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุด อาหารและภาวะโภชนาการที่ดี เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กในวัยเรียน ทั้งนี้ โรงเรียนบ้านบาโงยือแบ็ง พบว่ามีนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ ร้อยละ 31.11 ทั้งนี้ เด็กในจังหวัดปัตตานีมีภาวะซีดสูงที่สุดในประเทศและผู้ปกครองยังขาดความรู้ด้านโภชนาการของเด็กในวัยเรียน ตลอดจนขาดระบบเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาโภชนาการ ส่งผลให้การเรียนไม่มีประสิทธิภาพ
ประกอบกับอำนาจหน้าที่ของโรงเรียนบ้านบาโงยือแบ็ง ตามมาตรา 39 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 ได้กำหหนดให้สถานศึกษา มีอำนาจหน้าที่ตามที่กำหนดไว้ให้เป็นหน้าที่ของส่วนราชการนั้นๆ โดยให้ผู้อำนวยการสถานศึกษา มีอำนาจดังนี้ 1) บริหารกิจการของสถานศึกษาหรือส่วนราชการให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบข้อบังคับของทางราชการ และของสถานศึกษาหรือส่วนราชการ รวมทั้งนโยบายและวัตถุประสงค์ของสถานศึกษาหรือส่วนราชการ 2) ประสานระดับทรัพยากรเพื่อการศึกษา รวมทั่งควบคุมดูแลบุคลากร การเงิน การพัสดุ สถานที่และทรัพย์สินอื่นของสถานศึกษาหรือส่วนราชการให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบและข้อบังคับของทางราชการ
ในการนี้โรงเรียนบ้านบาโงยือแบ็ง ได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาโภชนาการในเด็กวัยเรียน ประจำปีงบประมาณ 2567 ขึ้น เพื่อประเมินผลและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กวัยเรียน เด็กที่มีภาวะโภชนาการเกินหรือทุพโภชนาการได้รับการดูและแก้ไขและป้องกันโรคโลหิตจาง ตลอดจนให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโภชนาการของเด็กนักเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อประเมินและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กในวัยเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  2. เพื่อให้เด็กในวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) ได้รับการดูแลแก้ไขอย่างเหมาะสม
  3. เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ความเข้าใจถึงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ ด้านโภชนาการเด็กวัยเรียน
  2. กิจกรรมย่อย กรณีเด็กนักเรียนอ้วน ดูแลเรื่องการกินของเด็ก ลดการกินขนมกรุบกรอบ กรณีเด็กผอม กระตุ้นให้เด็กกินมากขึ้นโดยการจัดหาอาหารเสริม (ไข่) จำนวน 28 คน
  3. กิจกรรมย่อย ชั่งน้ำหนัก / วัดส่วนสูงเด็กนักเรียนและบันทึกผลน้ำหนัก และส่วนสูง ในสมุดทะเบียน พร้อมกับรายงานผลให้กับผู้ปกครองนักเรียนทราบ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 111
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อประเมินและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กในวัยเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายได้รับการประเมินและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียนในโรงเรียนบ้านบาโงยือแบ็ง ร้อยละ 80 ขึ้นไป
1.00 2.00

 

2 เพื่อให้เด็กในวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) ได้รับการดูแลแก้ไขอย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) ทุพโภชนาการ(ผอม) และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์ กลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะซีดได้รับการดูแลแก้ไขอย่างเหมาะสม ร้อยละ 80 ขึ้นไป
1.00 2.00

 

3 เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ความเข้าใจถึงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้ปกครอง ได้รับความรู้ ความเข้าใจถึงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียนร้อยละ 80 ขึ้นไป
1.00 2.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 111
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 111
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประเมินและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กในวัยเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ (2) เพื่อให้เด็กในวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) ได้รับการดูแลแก้ไขอย่างเหมาะสม (3) เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ความเข้าใจถึงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้          ด้านโภชนาการเด็กวัยเรียน (2) กิจกรรมย่อย กรณีเด็กนักเรียนอ้วน ดูแลเรื่องการกินของเด็ก ลดการกินขนมกรุบกรอบ กรณีเด็กผอม กระตุ้นให้เด็กกินมากขึ้นโดยการจัดหาอาหารเสริม (ไข่) จำนวน 28 คน (3) กิจกรรมย่อย ชั่งน้ำหนัก / วัดส่วนสูงเด็กนักเรียนและบันทึกผลน้ำหนัก และส่วนสูง ในสมุดทะเบียน พร้อมกับรายงานผลให้กับผู้ปกครองนักเรียนทราบ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหานักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียน ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางลีนา อีซอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด