โครงการกัญชากัญชงเพื่อการเรียนรู้ดูแลสุขภาพ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการกัญชากัญชงเพื่อการเรียนรู้ดูแลสุขภาพ ”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลสงเปือย อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร
หัวหน้าโครงการ
๑. นายบุญทศ ประจำถิ่น ๒. นางดรรชนี เขียนนอก ๓. นางระพีพรรณ สว่างแสง ๔. นางสาวสุวรรณี ภูมูล ๕. นางสาวพจนีย์ ฝุ่นทอง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สงเปือย
กันยายน 2566
ชื่อโครงการ โครงการกัญชากัญชงเพื่อการเรียนรู้ดูแลสุขภาพ
ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลสงเปือย อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร จังหวัด ยโสธร
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการกัญชากัญชงเพื่อการเรียนรู้ดูแลสุขภาพ จังหวัดยโสธร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลสงเปือย อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สงเปือย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการกัญชากัญชงเพื่อการเรียนรู้ดูแลสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการกัญชากัญชงเพื่อการเรียนรู้ดูแลสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลสงเปือย อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สงเปือย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ได้ออกประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ระบุชื่อยา เสพติดให้โทษในประเภท 5 พ.ศ. 2565 ประกาศเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2565 ที่ผ่านมา และจะมีผลใช้ บังคับในวันที่ 9 มิถุนายน 2565 โดยผลจากการออกประกาศกระทรวงสาธารณสุขดังกล่าวจะส่งผลให้ทุก ส่วนของกัญชา กัญชง ไม่เป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ยกเว้นสารสกัดที่มีสาร Tetrahydrocannabinol, THC เกินร้อยละ 0.2 ดังนั้น จึงอาจทำให้มีการนำพืชกัญชา กัญชง ไปใช้ในทางที่ไม่เหมาะสม หรือส่งผล กระทบต่อสุขภาพของตนเองหรือผู้อื่น เช่น สันทนาการต่าง ๆ แพร่หลายมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการใช้ใน ครัวเรือน สถานที่สาธารณะ รวมทั้งการส่งเสริมให้มีการใช้ในสถานประกอบการ เช่น ร้านอาหาร สถานบริการ สถานบันเทิง ซึ่งอาจก่อให้เกิดปัญหากลิ่นและควันรบกวน หรือส่งผลกระทบ จนเป็นเหตุให้เสื่อม หรืออาจเป็น อันตรายต่อสุขภาพแก่ประชาชนที่อยู่หรืออาศัยบริเวณใกล้เคียง จึงอาจเข้าข่ายเป็นเหตุรำคาญ ตามกฎหมาย ว่าด้วยการสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสงเปือย จึงได้จัดโครงการกัญชากัญชงเพื่อการเรียนรู้รักษาสุขภาพ ให้กับประชาชนที่มีความสนใจ และทันเหตุการณ์ทันยุคสมัย ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ประชาชนจะต้องมีความรู้เรื่องการใช้กัญชงกัญชาอย่างปลอดภัย และใช้เป็นยาทางเลือก ประชาชนรับรู้ถึงข้อมูลด้าน กฎหมาย การประกาศใช้ พ.ร.บ.ยาเสพติด เพื่อปลดล็อกกัญชาให้ใช้ทางการแพทย์ โดยสร้างความรู้ความเข้าใจนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างถูกต้องตั้งแต่เรื่องการปลูก การขยายพันธุ์ การแปรรูป กฎหมาย และโทษ พิษภัยของกัญชา กัญชงเพื่อนำความรู้มาใช้อย่างถูกต้องเหมาะสม ให้กับประชาชนในเขตพื้นที่
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชาสัมพันธ์โครงการ และจัดเตรียมอุปกรณ์
- อบรมให้ความรู้ เรื่องกัญชากัญชง
- ประเมินผลการทำแบบทดสอบก่อนและหลังอบรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจตั้งแต่เรื่องการปลูก การขยายพันธุ์ การแปรรูป กฎหมาย และโทษ พิษภัยของกัญชา กัญชง
- ประชาชนสามารถใช้กัญชากัญชงอย่างปลอดภัย ถูกต้องเหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
60
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์โครงการ และจัดเตรียมอุปกรณ์ (2) อบรมให้ความรู้ เรื่องกัญชากัญชง (3) ประเมินผลการทำแบบทดสอบก่อนและหลังอบรม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการกัญชากัญชงเพื่อการเรียนรู้ดูแลสุขภาพ จังหวัด ยโสธร
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ๑. นายบุญทศ ประจำถิ่น ๒. นางดรรชนี เขียนนอก ๓. นางระพีพรรณ สว่างแสง ๔. นางสาวสุวรรณี ภูมูล ๕. นางสาวพจนีย์ ฝุ่นทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการกัญชากัญชงเพื่อการเรียนรู้ดูแลสุขภาพ ”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลสงเปือย อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร
หัวหน้าโครงการ
๑. นายบุญทศ ประจำถิ่น ๒. นางดรรชนี เขียนนอก ๓. นางระพีพรรณ สว่างแสง ๔. นางสาวสุวรรณี ภูมูล ๕. นางสาวพจนีย์ ฝุ่นทอง
กันยายน 2566
ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลสงเปือย อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร จังหวัด ยโสธร
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการกัญชากัญชงเพื่อการเรียนรู้ดูแลสุขภาพ จังหวัดยโสธร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลสงเปือย อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สงเปือย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการกัญชากัญชงเพื่อการเรียนรู้ดูแลสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการกัญชากัญชงเพื่อการเรียนรู้ดูแลสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลสงเปือย อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สงเปือย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ได้ออกประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ระบุชื่อยา เสพติดให้โทษในประเภท 5 พ.ศ. 2565 ประกาศเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2565 ที่ผ่านมา และจะมีผลใช้ บังคับในวันที่ 9 มิถุนายน 2565 โดยผลจากการออกประกาศกระทรวงสาธารณสุขดังกล่าวจะส่งผลให้ทุก ส่วนของกัญชา กัญชง ไม่เป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ยกเว้นสารสกัดที่มีสาร Tetrahydrocannabinol, THC เกินร้อยละ 0.2 ดังนั้น จึงอาจทำให้มีการนำพืชกัญชา กัญชง ไปใช้ในทางที่ไม่เหมาะสม หรือส่งผล กระทบต่อสุขภาพของตนเองหรือผู้อื่น เช่น สันทนาการต่าง ๆ แพร่หลายมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการใช้ใน ครัวเรือน สถานที่สาธารณะ รวมทั้งการส่งเสริมให้มีการใช้ในสถานประกอบการ เช่น ร้านอาหาร สถานบริการ สถานบันเทิง ซึ่งอาจก่อให้เกิดปัญหากลิ่นและควันรบกวน หรือส่งผลกระทบ จนเป็นเหตุให้เสื่อม หรืออาจเป็น อันตรายต่อสุขภาพแก่ประชาชนที่อยู่หรืออาศัยบริเวณใกล้เคียง จึงอาจเข้าข่ายเป็นเหตุรำคาญ ตามกฎหมาย ว่าด้วยการสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสงเปือย จึงได้จัดโครงการกัญชากัญชงเพื่อการเรียนรู้รักษาสุขภาพ ให้กับประชาชนที่มีความสนใจ และทันเหตุการณ์ทันยุคสมัย ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ประชาชนจะต้องมีความรู้เรื่องการใช้กัญชงกัญชาอย่างปลอดภัย และใช้เป็นยาทางเลือก ประชาชนรับรู้ถึงข้อมูลด้าน กฎหมาย การประกาศใช้ พ.ร.บ.ยาเสพติด เพื่อปลดล็อกกัญชาให้ใช้ทางการแพทย์ โดยสร้างความรู้ความเข้าใจนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างถูกต้องตั้งแต่เรื่องการปลูก การขยายพันธุ์ การแปรรูป กฎหมาย และโทษ พิษภัยของกัญชา กัญชงเพื่อนำความรู้มาใช้อย่างถูกต้องเหมาะสม ให้กับประชาชนในเขตพื้นที่
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชาสัมพันธ์โครงการ และจัดเตรียมอุปกรณ์
- อบรมให้ความรู้ เรื่องกัญชากัญชง
- ประเมินผลการทำแบบทดสอบก่อนและหลังอบรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 60 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจตั้งแต่เรื่องการปลูก การขยายพันธุ์ การแปรรูป กฎหมาย และโทษ พิษภัยของกัญชา กัญชง
- ประชาชนสามารถใช้กัญชากัญชงอย่างปลอดภัย ถูกต้องเหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 60 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์โครงการ และจัดเตรียมอุปกรณ์ (2) อบรมให้ความรู้ เรื่องกัญชากัญชง (3) ประเมินผลการทำแบบทดสอบก่อนและหลังอบรม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการกัญชากัญชงเพื่อการเรียนรู้ดูแลสุขภาพ จังหวัด ยโสธร
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ๑. นายบุญทศ ประจำถิ่น ๒. นางดรรชนี เขียนนอก ๓. นางระพีพรรณ สว่างแสง ๔. นางสาวสุวรรณี ภูมูล ๕. นางสาวพจนีย์ ฝุ่นทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......