โครงการชุมชนตรอกลิเก ร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ปี 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการชุมชนตรอกลิเก ร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ปี 2567 ”
ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง
สิงหาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนตรอกลิเก ร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ปี 2567
ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L6895-02-24 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนตรอกลิเก ร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ปี 2567 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนตรอกลิเก ร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนตรอกลิเก ร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L6895-02-24 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 30 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,675.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขและเป็นปัญหาซึ่งปัจจุบันมีแนวโน้มของการเกิดโรคสูงขึ้น ในอดีตที่ผ่านมา กลุ่มผู้ป่วยส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 70-75 เป็นผู้ป่วยในกลุ่มอายุ 5-14 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มเด็กวัยเรียนและการเกิดโรคมักจะระบาดในช่วงฤดูฝน มาตรการการควบคุมโรคที่ได้ผลในขณะนี้ยังคงเป็นมาตรการการควบคุมยุงพาหะนำโรค ซึ่งเป็นการยากที่จะอาศัยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขของรัฐเพียงฝ่ายเดียว ดังนั้นการที่จะให้ได้ผลอย่างเต็มที่จึงต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกครัวเรือนร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและผู้นำชุมชนช่วยกันป้องกันโรคดังกล่าวในหลากหลายรูปแบบ เช่น การรณรงค์ การร่วมมือกับโรงเรียน ชุมชน สถานที่ราชการต่างๆ การจัดหาสารฆ่าลูกน้ำ การพ่นหมอกควันและสารเคมี การกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย การใช้วิธีทางธรรมชาติในการกำจัดลูกน้ำ และสำคัญที่สุดคือการรู้จักป้องกันตนเองไม่ให้ถูกยุงกัด ซึ่งจากรายงานสถานการณ์ไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองกันตัง เมื่อปี 2566 มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองกันตังรวมจำนวน 1 ราย โดยชุมชนตรอกลิเก มีจำนวน 307 หลังคาเรือน พบผู้ป่วยไข้เลือดออกในชุมชนจำนวน 1 ราย
ทางกลุ่มแกนนำสุขภาพชุมชนตรอกลิเก จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน จึงต้องมีการป้องกันโดยการทำลายยุงลายและแหล่งเพาะพันธุ์ การสร้างความเข้าใจ ตระหนักและให้ความสำคัญ จึงเกิดความร่วมมือในชุมชนอย่างจริงจัง นำไปสู่การป้องกันโรคไข้เลือดออกได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก วิธีป้องกันและควบคุมโรคด้วยตนเอง ให้กับประชาชนในชุมชน ให้มีความตระหนักในการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในครัวเรือน
- เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องโรคไข้เลือดออก และมีความตระหนักในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในครัวเรือนอย่างต่อเนื่อง
- สามารถควบคุม ป้องกันการเกิดและแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชนได้ในระดับหนึ่ง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ
วันที่ 18 กรกฎาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
08.30 น. – 09.00 น. ลงทะเบียนโดย แกนนำสุขภาพชุมชนตรอกลิเก
09.00 น. – 09.15 น. พิธีเปิด
09.15 น. – 09.45 น. บรรยายเรื่อง สถานการณ์โรคไข้เลือดออกโดย วิทยากรจากศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 12.3 จ.ตรัง
09.45 น. – 10.00 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.00 น. – 12.00 น. บรรยายเรื่อง โรคไข้เลือดออก และการดูแลผู้ป่วยเบื้องต้นโดย วิทยากรจากศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 12.3 จ.ตรัง
12.00 น. – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 น. – 13.30 น. บรรยายเรื่อง ชีววิทยาของยุงโดย วิทยากรจากศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 12.3 จ.ตรัง
13.30 น. – 13.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง
13.45 น. – 15.45 น. บรรยายเรื่อง การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก สาธิตการทำที่ใส่ทรายอะเบทจากเศษวัสดุเหลือใช้โดย วิทยากรจากศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 12.3 จ.ตรัง
15.45 น. – 16.15 น. - ตอบข้อซักถาม
- ประเมินความพึงพอใจ
- ปิดการประชุม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว/ประชาชนในชุมชนที่สนใจเข้าร่วมโครงการ เป้าหมายจำนวน 40 คน ในเรื่อง สถานการณ์โรคไข้เลือดออก โรคไข้เลือดออก และการดูแลผู้ป่วยเบื้องต้น ชีววิทยาของยุง การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก และสาธิตการทำกับดักยุง โดยวิทยากรจากศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 12.3 จ.ตรัง มาให้ความรู้ดังกล่าว ซึ่งมีผู้เข้ารับการอบรมจำนวน 65 คน เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2567 ณ ชุมชนตรอกลิเก
- ประเมินความพึงพอใจผู้เข้ารับการอบรม เป้าหมายจำนวน 40 คน ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน 40 ชุด ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่ร้อยละ 86.2 มีความพึงพอใจในการดำเนินโครงการอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.31 โดยมีผลการประเมินแต่ละด้านดังนี้
2.1 ด้านวิทยากร และสื่อที่ใช้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.33 คิดเป็นร้อยละ 86.6
- เนื้อหาครบถ้วนเหมาะสม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.375 คิดเป็นร้อยละ 87.5
- วิทยากรถ่ายทอดความรู้ และตอบข้อซักถามได้ชัดเจน มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.20 คิดเป็นร้อยละ 84
- สื่อที่ใช้ในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.40 คิดเป็นร้อยละ 88
2.2 ด้านความรู้ ความเข้าใจ และการนำไปใช้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.295 คิดเป็นร้อยละ 85.9
- มีความรู้ความเข้าใจหลังการอบรม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.375 คิดเป็นร้อยละ 87.5
- สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.23 คิดเป็นร้อยละ 84.6
- สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่/ถ่ายทอดได้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.28 คิดเป็นร้อยละ 85.6
2.3 ด้านสถานที่/ระยะเวลา มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.30 คิดเป็นร้อยละ 86
- สถานที่ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.25 คิดเป็นร้อยละ 85
- ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.35 คิดเป็นร้อยละ 87
2.4 ภาพรวมของโครงการ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.33 คิดเป็นร้อยละ 86.6
3. กิจกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน โดยจัดทำที่ใส่ทรายอะเบทจากเศษวัสดุเหลือใช้ พร้อมมอบให้ครัวเรือนที่สนใจนำไปใช้ในชุมชน
4. กิจกรรมสำรวจ/ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน/ครัวเรือนทุกเดือนๆ ละ 1 ครั้ง พร้อมลงบันทึกในแบบสำรวจลูกน้ำยุงลายและคำนวณดัชนีลูกน้ำยุงลายทุกเดือน เพื่อประเมินความชุกป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก โดยแกนนำสุขภาพในชุมชน เดินรณรงค์เคาะประตูบ้านประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และขอความร่วมมือประชาชนให้ร่วมกันทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย พร้อมมอบเอกสารหรือแผ่นปลิวการป้องกันโรคไข้เลือดออกให้กับประชาชนในชุมชน ซึ่งมีข้อมูลผลการสำรวจลูกน้ำยุงลายตั้งแต่เดือนมิถุนายน – สิงหาคม 2567
จากผลการสำรวจดังกล่าว พบว่า ค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายในบ้าน (HI) สูงที่สุดในเดือนสิงหาคม 2567 ร้อยละ 20.89 และน้อยที่สุดในเดือนมิถุนายน ร้อยละ 4.10 ในเดือนสิงหาคม ค่า HI เพิ่มขึ้นจากเดือนกรกฎาคม ร้อยละ 2.95
3. สรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ค่า HI สูงกว่าค่ามาตรฐาน (ตัวชี้วัด ค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายในบ้าน House Index น้อยกว่าหรือเท่า 10 (HI ≤10) )
4. สรุปค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ จำนวน 12,675 บาท โดยมีรายละเอียดดังนี้
กิจกรรมอบรมให้ความรู้
- ค่าสมนาคุณวิทยากร เป็นเงิน 3,000 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน เป็นเงิน 2,800 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม เป็นเงิน 2,400 บาท
- ค่าถ่ายเอกสารประกอบการอบรม/แบบประเมิน เป็นเงิน 298 บาท
- ค่าป้ายไวนิลโครงการ 1 ผืน เป็นเงิน 375 บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นเงิน 1,533 บาท
- ค่าเช่าเต็นท์/โต๊ะ/เก้าอี้ เป็นเงิน 1,500 บาท
กิจกรรมควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
- ค่าเอกสาร/แผ่นปลิว/เอกสารแบบสำรวจ/อื่นๆ เป็นเงิน 200 บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง เป็นเงิน 569 บาท
40
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว/ประชาชนในชุมชนที่สนใจเข้าร่วมโครงการ เป้าหมายจำนวน 40 คน ในเรื่อง สถานการณ์โรคไข้เลือดออก โรคไข้เลือดออก และการดูแลผู้ป่วยเบื้องต้น ชีววิทยาของยุง การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก และสาธิตการทำกับดักยุง โดยวิทยากรจากศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 12.3 จ.ตรัง มาให้ความรู้ดังกล่าว ซึ่งมีผู้เข้ารับการอบรมจำนวน 65 คน เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2567 ณ ชุมชนตรอกลิเก
- ประเมินความพึงพอใจผู้เข้ารับการอบรม เป้าหมายจำนวน 40 คน ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน 40 ชุด ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่ร้อยละ 86.2 มีความพึงพอใจในการดำเนินโครงการอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.31 โดยมีผลการประเมินแต่ละด้านดังนี้
2.1 ด้านวิทยากร และสื่อที่ใช้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.33 คิดเป็นร้อยละ 86.6
- เนื้อหาครบถ้วนเหมาะสม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.375 คิดเป็นร้อยละ 87.5
- วิทยากรถ่ายทอดความรู้ และตอบข้อซักถามได้ชัดเจน มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.20 คิดเป็นร้อยละ 84
- สื่อที่ใช้ในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.40 คิดเป็นร้อยละ 88
2.2 ด้านความรู้ ความเข้าใจ และการนำไปใช้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.295 คิดเป็นร้อยละ 85.9
- มีความรู้ความเข้าใจหลังการอบรม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.375 คิดเป็นร้อยละ 87.5
- สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.23 คิดเป็นร้อยละ 84.6
- สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่/ถ่ายทอดได้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.28 คิดเป็นร้อยละ 85.6
2.3 ด้านสถานที่/ระยะเวลา มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.30 คิดเป็นร้อยละ 86
- สถานที่ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.25 คิดเป็นร้อยละ 85
- ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.35 คิดเป็นร้อยละ 87
2.4 ภาพรวมของโครงการ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.33 คิดเป็นร้อยละ 86.6
3. กิจกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน โดยจัดทำที่ใส่ทรายอะเบทจากเศษวัสดุเหลือใช้ พร้อมมอบให้ครัวเรือนที่สนใจนำไปใช้ในชุมชน
4. กิจกรรมสำรวจ/ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน/ครัวเรือนทุกเดือนๆ ละ 1 ครั้ง พร้อมลงบันทึกในแบบสำรวจลูกน้ำยุงลายและคำนวณดัชนีลูกน้ำยุงลายทุกเดือน เพื่อประเมินความชุกป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก โดยแกนนำสุขภาพในชุมชน เดินรณรงค์เคาะประตูบ้านประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และขอความร่วมมือประชาชนให้ร่วมกันทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย พร้อมมอบเอกสารหรือแผ่นปลิวการป้องกันโรคไข้เลือดออกให้กับประชาชนในชุมชน ซึ่งมีข้อมูลผลการสำรวจลูกน้ำยุงลายตั้งแต่เดือนมิถุนายน – สิงหาคม 2567
จากผลการสำรวจดังกล่าว พบว่า ค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายในบ้าน (HI) สูงที่สุดในเดือนสิงหาคม 2567 ร้อยละ 20.89 และน้อยที่สุดในเดือนมิถุนายน ร้อยละ 4.10 ในเดือนสิงหาคม ค่า HI เพิ่มขึ้นจากเดือนกรกฎาคม ร้อยละ 2.95
3. สรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ค่า HI สูงกว่าค่ามาตรฐาน (ตัวชี้วัด ค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายในบ้าน House Index น้อยกว่าหรือเท่า 10 (HI ≤10) )
4. สรุปค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ จำนวน 12,675 บาท โดยมีรายละเอียดดังนี้
กิจกรรมอบรมให้ความรู้
- ค่าสมนาคุณวิทยากร เป็นเงิน 3,000 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน เป็นเงิน 2,800 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม เป็นเงิน 2,400 บาท
- ค่าถ่ายเอกสารประกอบการอบรม/แบบประเมิน เป็นเงิน 298 บาท
- ค่าป้ายไวนิลโครงการ 1 ผืน เป็นเงิน 375 บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นเงิน 1,533 บาท
- ค่าเช่าเต็นท์/โต๊ะ/เก้าอี้ เป็นเงิน 1,500 บาท
กิจกรรมควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
- ค่าเอกสาร/แผ่นปลิว/เอกสารแบบสำรวจ/อื่นๆ เป็นเงิน 200 บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง เป็นเงิน 569 บาท
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก วิธีป้องกันและควบคุมโรคด้วยตนเอง ให้กับประชาชนในชุมชน ให้มีความตระหนักในการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในครัวเรือน
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
40
40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก วิธีป้องกันและควบคุมโรคด้วยตนเอง ให้กับประชาชนในชุมชน ให้มีความตระหนักในการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในครัวเรือน (2) เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการชุมชนตรอกลิเก ร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ปี 2567 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L6895-02-24
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการชุมชนตรอกลิเก ร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ปี 2567 ”
ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
สิงหาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L6895-02-24 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนตรอกลิเก ร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ปี 2567 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนตรอกลิเก ร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนตรอกลิเก ร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L6895-02-24 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 30 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,675.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขและเป็นปัญหาซึ่งปัจจุบันมีแนวโน้มของการเกิดโรคสูงขึ้น ในอดีตที่ผ่านมา กลุ่มผู้ป่วยส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 70-75 เป็นผู้ป่วยในกลุ่มอายุ 5-14 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มเด็กวัยเรียนและการเกิดโรคมักจะระบาดในช่วงฤดูฝน มาตรการการควบคุมโรคที่ได้ผลในขณะนี้ยังคงเป็นมาตรการการควบคุมยุงพาหะนำโรค ซึ่งเป็นการยากที่จะอาศัยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขของรัฐเพียงฝ่ายเดียว ดังนั้นการที่จะให้ได้ผลอย่างเต็มที่จึงต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกครัวเรือนร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและผู้นำชุมชนช่วยกันป้องกันโรคดังกล่าวในหลากหลายรูปแบบ เช่น การรณรงค์ การร่วมมือกับโรงเรียน ชุมชน สถานที่ราชการต่างๆ การจัดหาสารฆ่าลูกน้ำ การพ่นหมอกควันและสารเคมี การกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย การใช้วิธีทางธรรมชาติในการกำจัดลูกน้ำ และสำคัญที่สุดคือการรู้จักป้องกันตนเองไม่ให้ถูกยุงกัด ซึ่งจากรายงานสถานการณ์ไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองกันตัง เมื่อปี 2566 มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองกันตังรวมจำนวน 1 ราย โดยชุมชนตรอกลิเก มีจำนวน 307 หลังคาเรือน พบผู้ป่วยไข้เลือดออกในชุมชนจำนวน 1 ราย
ทางกลุ่มแกนนำสุขภาพชุมชนตรอกลิเก จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน จึงต้องมีการป้องกันโดยการทำลายยุงลายและแหล่งเพาะพันธุ์ การสร้างความเข้าใจ ตระหนักและให้ความสำคัญ จึงเกิดความร่วมมือในชุมชนอย่างจริงจัง นำไปสู่การป้องกันโรคไข้เลือดออกได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก วิธีป้องกันและควบคุมโรคด้วยตนเอง ให้กับประชาชนในชุมชน ให้มีความตระหนักในการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในครัวเรือน
- เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 40 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องโรคไข้เลือดออก และมีความตระหนักในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในครัวเรือนอย่างต่อเนื่อง
- สามารถควบคุม ป้องกันการเกิดและแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชนได้ในระดับหนึ่ง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ |
||
วันที่ 18 กรกฎาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ08.30 น. – 09.00 น. ลงทะเบียนโดย แกนนำสุขภาพชุมชนตรอกลิเก
09.00 น. – 09.15 น. พิธีเปิด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- เนื้อหาครบถ้วนเหมาะสม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.375 คิดเป็นร้อยละ 87.5
- วิทยากรถ่ายทอดความรู้ และตอบข้อซักถามได้ชัดเจน มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.20 คิดเป็นร้อยละ 84
- สื่อที่ใช้ในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.40 คิดเป็นร้อยละ 88
2.2 ด้านความรู้ ความเข้าใจ และการนำไปใช้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.295 คิดเป็นร้อยละ 85.9
- มีความรู้ความเข้าใจหลังการอบรม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.375 คิดเป็นร้อยละ 87.5
- สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.23 คิดเป็นร้อยละ 84.6
- สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่/ถ่ายทอดได้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.28 คิดเป็นร้อยละ 85.6
2.3 ด้านสถานที่/ระยะเวลา มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.30 คิดเป็นร้อยละ 86
- สถานที่ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.25 คิดเป็นร้อยละ 85
- ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.35 คิดเป็นร้อยละ 87
2.4 ภาพรวมของโครงการ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.33 คิดเป็นร้อยละ 86.6
3. กิจกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน โดยจัดทำที่ใส่ทรายอะเบทจากเศษวัสดุเหลือใช้ พร้อมมอบให้ครัวเรือนที่สนใจนำไปใช้ในชุมชน
4. กิจกรรมสำรวจ/ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน/ครัวเรือนทุกเดือนๆ ละ 1 ครั้ง พร้อมลงบันทึกในแบบสำรวจลูกน้ำยุงลายและคำนวณดัชนีลูกน้ำยุงลายทุกเดือน เพื่อประเมินความชุกป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก โดยแกนนำสุขภาพในชุมชน เดินรณรงค์เคาะประตูบ้านประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และขอความร่วมมือประชาชนให้ร่วมกันทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย พร้อมมอบเอกสารหรือแผ่นปลิวการป้องกันโรคไข้เลือดออกให้กับประชาชนในชุมชน ซึ่งมีข้อมูลผลการสำรวจลูกน้ำยุงลายตั้งแต่เดือนมิถุนายน – สิงหาคม 2567
|
40 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว/ประชาชนในชุมชนที่สนใจเข้าร่วมโครงการ เป้าหมายจำนวน 40 คน ในเรื่อง สถานการณ์โรคไข้เลือดออก โรคไข้เลือดออก และการดูแลผู้ป่วยเบื้องต้น ชีววิทยาของยุง การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก และสาธิตการทำกับดักยุง โดยวิทยากรจากศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 12.3 จ.ตรัง มาให้ความรู้ดังกล่าว ซึ่งมีผู้เข้ารับการอบรมจำนวน 65 คน เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2567 ณ ชุมชนตรอกลิเก
- ประเมินความพึงพอใจผู้เข้ารับการอบรม เป้าหมายจำนวน 40 คน ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน 40 ชุด ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่ร้อยละ 86.2 มีความพึงพอใจในการดำเนินโครงการอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.31 โดยมีผลการประเมินแต่ละด้านดังนี้ 2.1 ด้านวิทยากร และสื่อที่ใช้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.33 คิดเป็นร้อยละ 86.6
- เนื้อหาครบถ้วนเหมาะสม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.375 คิดเป็นร้อยละ 87.5
- วิทยากรถ่ายทอดความรู้ และตอบข้อซักถามได้ชัดเจน มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.20 คิดเป็นร้อยละ 84
- สื่อที่ใช้ในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.40 คิดเป็นร้อยละ 88
2.2 ด้านความรู้ ความเข้าใจ และการนำไปใช้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.295 คิดเป็นร้อยละ 85.9
- มีความรู้ความเข้าใจหลังการอบรม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.375 คิดเป็นร้อยละ 87.5
- สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.23 คิดเป็นร้อยละ 84.6
- สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่/ถ่ายทอดได้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.28 คิดเป็นร้อยละ 85.6
2.3 ด้านสถานที่/ระยะเวลา มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.30 คิดเป็นร้อยละ 86
- สถานที่ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.25 คิดเป็นร้อยละ 85
- ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.35 คิดเป็นร้อยละ 87
2.4 ภาพรวมของโครงการ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.33 คิดเป็นร้อยละ 86.6
3. กิจกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน โดยจัดทำที่ใส่ทรายอะเบทจากเศษวัสดุเหลือใช้ พร้อมมอบให้ครัวเรือนที่สนใจนำไปใช้ในชุมชน
4. กิจกรรมสำรวจ/ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน/ครัวเรือนทุกเดือนๆ ละ 1 ครั้ง พร้อมลงบันทึกในแบบสำรวจลูกน้ำยุงลายและคำนวณดัชนีลูกน้ำยุงลายทุกเดือน เพื่อประเมินความชุกป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก โดยแกนนำสุขภาพในชุมชน เดินรณรงค์เคาะประตูบ้านประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และขอความร่วมมือประชาชนให้ร่วมกันทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย พร้อมมอบเอกสารหรือแผ่นปลิวการป้องกันโรคไข้เลือดออกให้กับประชาชนในชุมชน ซึ่งมีข้อมูลผลการสำรวจลูกน้ำยุงลายตั้งแต่เดือนมิถุนายน – สิงหาคม 2567
จากผลการสำรวจดังกล่าว พบว่า ค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายในบ้าน (HI) สูงที่สุดในเดือนสิงหาคม 2567 ร้อยละ 20.89 และน้อยที่สุดในเดือนมิถุนายน ร้อยละ 4.10 ในเดือนสิงหาคม ค่า HI เพิ่มขึ้นจากเดือนกรกฎาคม ร้อยละ 2.95
3. สรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ค่า HI สูงกว่าค่ามาตรฐาน (ตัวชี้วัด ค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายในบ้าน House Index น้อยกว่าหรือเท่า 10 (HI ≤10) )
4. สรุปค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ จำนวน 12,675 บาท โดยมีรายละเอียดดังนี้
กิจกรรมอบรมให้ความรู้
- ค่าสมนาคุณวิทยากร เป็นเงิน 3,000 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน เป็นเงิน 2,800 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม เป็นเงิน 2,400 บาท
- ค่าถ่ายเอกสารประกอบการอบรม/แบบประเมิน เป็นเงิน 298 บาท
- ค่าป้ายไวนิลโครงการ 1 ผืน เป็นเงิน 375 บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นเงิน 1,533 บาท
- ค่าเช่าเต็นท์/โต๊ะ/เก้าอี้ เป็นเงิน 1,500 บาท
กิจกรรมควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
- ค่าเอกสาร/แผ่นปลิว/เอกสารแบบสำรวจ/อื่นๆ เป็นเงิน 200 บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง เป็นเงิน 569 บาท
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก วิธีป้องกันและควบคุมโรคด้วยตนเอง ให้กับประชาชนในชุมชน ให้มีความตระหนักในการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในครัวเรือน ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | 40 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 0 | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 40 | 40 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก วิธีป้องกันและควบคุมโรคด้วยตนเอง ให้กับประชาชนในชุมชน ให้มีความตระหนักในการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในครัวเรือน (2) เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการชุมชนตรอกลิเก ร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ปี 2567 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L6895-02-24
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......