โครงการชุมชนกิตติคุณ ร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ปี 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการชุมชนกิตติคุณ ร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ปี 2567 ”
ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง
สิงหาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนกิตติคุณ ร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ปี 2567
ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L6895-02-27 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนกิตติคุณ ร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ปี 2567 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนกิตติคุณ ร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนกิตติคุณ ร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L6895-02-27 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 30 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,675.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขและเป็นปัญหาซึ่งปัจจุบันมีแนวโน้มของการเกิดโรคสูงขึ้น ในอดีตที่ผ่านมา กลุ่มผู้ป่วยส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 70-75 เป็นผู้ป่วยในกลุ่มอายุ 5-14 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มเด็กวัยเรียนและการเกิดโรคมักจะระบาดในช่วงฤดูฝน มาตรการการควบคุมโรคที่ได้ผลในขณะนี้ยังคงเป็นมาตรการการควบคุมยุงพาหะนำโรค ซึ่งเป็นการยากที่จะอาศัยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขของรัฐเพียงฝ่ายเดียว ดังนั้นการที่จะให้ได้ผลอย่างเต็มที่จึงต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกครัวเรือนร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและผู้นำชุมชนช่วยกันป้องกันโรคดังกล่าวในหลากหลายรูปแบบ เช่น การรณรงค์ การร่วมมือกับโรงเรียน ชุมชน สถานที่ราชการต่างๆ การจัดหาสารฆ่าลูกน้ำ การพ่นหมอกควันและสารเคมี การกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย การใช้วิธีทางธรรมชาติในการกำจัดลูกน้ำ และสำคัญที่สุดคือการรู้จักป้องกันตนเองไม่ให้ถูกยุงกัด ซึ่งจากรายงานสถานการณ์ไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองกันตัง เมื่อปี 2566 มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองกันตังรวมจำนวน 1 ราย โดยชุมชนกิตติคุณ มีจำนวน 164 หลังคาเรือน แต่ไม่พบผู้ป่วยไข้เลือดออกในชุมชน
ทางกลุ่มแกนนำสุขภาพชุมชนกิตติคุณ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน จึงต้องมีการป้องกันโดยการทำลายยุงลายและแหล่งเพาะพันธุ์ การสร้างความเข้าใจ ตระหนักและให้ความสำคัญ จึงเกิดความร่วมมือในชุมชนอย่างจริงจัง นำไปสู่การป้องกันโรคไข้เลือดออกได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก วิธีป้องกันและควบคุมโรคด้วยตนเอง ให้กับประชาชนในชุมชน ให้มีความตระหนักในการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในครัวเรือน
- เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องโรคไข้เลือดออก และมีความตระหนักในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในครัวเรือนอย่างต่อเนื่อง
- สามารถควบคุม ป้องกันการเกิดและแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชนได้ในระดับหนึ่ง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
วันที่ 24 มิถุนายน 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
08.30 น. – 09.00 น. ลงทะเบียนโดย แกนนำสุขภาพชุมชนกิตติคุณ
09.00 น. – 09.15 น. พิธีเปิด
09.45 น. – 10.00 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.00 น. – 12.00 น. บรรยายเรื่อง โรคไข้เลือดออก และการดูแลผู้ป่วยเบื้องต้นโดย วิทยากรจากศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 12.3 จ.ตรัง
12.00 น. – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 น. – 13.30 น. บรรยายเรื่อง ชีววิทยาของยุงโดย วิทยากรจากศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 12.3 จ.ตรัง
13.30 น. – 13.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง
13.45 น. – 15.45 น. บรรยายเรื่อง การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก สาธิตการทำที่ใส่ทรายอะเบทจากเศษวัสดุเหลือใช้โดย วิทยากรจากศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 12.3 จ.ตรัง
15.45 น. – 16.15 น. - ตอบข้อซักถาม
- ประเมินความพึงพอใจ
- ปิดการประชุม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว/ประชาชนในชุมชนที่สนใจเข้าร่วมโครงการ เป้าหมายจำนวน 40 คน ในเรื่อง สถานการณ์โรคไข้เลือดออก โรคไข้เลือดออก และการดูแลผู้ป่วยเบื้องต้น ชีววิทยาของยุง การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก และสาธิตการทำกับดักยุง โดยวิทยากรจากศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 12.3 จ.ตรัง มาให้ความรู้ดังกล่าว ซึ่งมีผู้เข้ารับการอบรมจำนวน 42 คน เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2567 ณ ชุมชนกิตติคุณ
- ประเมินความพึงพอใจผู้เข้ารับการอบรม เป้าหมายจำนวน 40 คน ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน 40 ชุด ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่ร้อยละ 90.6 มีความพึงพอใจในการดำเนินโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.53
- กิจกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน โดยจัดทำที่ใส่ทรายอะเบทจากเศษวัสดุเหลือใช้ พร้อมมอบให้ครัวเรือนที่สนใจนำไปใช้ในชุมชน
- กิจกรรมสำรวจ/ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน/ครัวเรือนทุกเดือนๆ ละ 1 ครั้ง พร้อมลงบันทึกในแบบสำรวจลูกน้ำยุงลายและคำนวณดัชนีลูกน้ำยุงลายทุกเดือน เพื่อประเมินความชุกป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก โดยแกนนำสุขภาพในชุมชน เดินรณรงค์เคาะประตูบ้านประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และขอความร่วมมือประชาชนให้ร่วมกันทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย พร้อมมอบเอกสารหรือแผ่นปลิวการป้องกันโรคไข้เลือดออกให้กับประชาชนในชุมชน ซึ่งมีข้อมูลผลการสำรวจลูกน้ำยุงลายตั้งแต่เดือนมิถุนายน – สิงหาคม 2567 จากผลการสำรวจดังกล่าว พบว่า ค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายในบ้าน (HI) สูงที่สุดในเดือนกรกฎาคม 2567 ร้อยละ 9.46 และน้อยที่สุดในเดือนมิถุนายน ร้อยละ 6.29 ในเดือนสิงหาคม ค่า HI ลดลงจากเดือนกรกฎาคม ร้อยละ 1.9
- สรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายในบ้าน House Index น้อยกว่าหรือเท่า 10 (HI ≤10)
40
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว/ประชาชนในชุมชนที่สนใจเข้าร่วมโครงการ เป้าหมายจำนวน 40 คน ในเรื่อง สถานการณ์โรคไข้เลือดออก โรคไข้เลือดออก และการดูแลผู้ป่วยเบื้องต้น ชีววิทยาของยุง การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก และสาธิตการทำกับดักยุง โดยวิทยากรจากศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 12.3 จ.ตรัง มาให้ความรู้ดังกล่าว ซึ่งมีผู้เข้ารับการอบรมจำนวน 42 คน เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2567 ณ ชุมชนกิตติคุณ
- ประเมินความพึงพอใจผู้เข้ารับการอบรม เป้าหมายจำนวน 40 คน ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน 40 ชุด ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่ร้อยละ 90.6 มีความพึงพอใจในการดำเนินโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.53 โดยมีผลการประเมินแต่ละด้านดังนี้
2.1 ด้านวิทยากร และสื่อที่ใช้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.36 คิดเป็นร้อยละ 87.2
- เนื้อหาครบถ้วนเหมาะสม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.28 คิดเป็นร้อยละ 85.6
- วิทยากรถ่ายทอดความรู้ และตอบข้อซักถามได้ชัดเจน มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.58 คิดเป็นร้อยละ 91.6
- สื่อที่ใช้ในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.23 คิดเป็นร้อยละ 84.6
2.2 ด้านความรู้ ความเข้าใจ และการนำไปใช้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.35 คิดเป็นร้อยละ 87
- มีความรู้ความเข้าใจหลังการอบรม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.33 คิดเป็นร้อยละ 86.6
- สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.33 คิดเป็นร้อยละ 86.6
- สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่/ถ่ายทอดได้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.40 คิดเป็นร้อยละ 88
2.3 ด้านสถานที่/ระยะเวลา มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.29 คิดเป็นร้อยละ 85.8
- สถานที่ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.38 คิดเป็นร้อยละ 87.6
- ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.20 คิดเป็นร้อยละ 84
2.4 ภาพรวมของโครงการ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.43 คิดเป็นร้อยละ 88.6
3. กิจกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน โดยจัดทำที่ใส่ทรายอะเบทจากเศษวัสดุเหลือใช้ พร้อมมอบให้ครัวเรือนที่สนใจนำไปใช้ในชุมชน
4. กิจกรรมสำรวจ/ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน/ครัวเรือนทุกเดือนๆ ละ 1 ครั้ง พร้อมลงบันทึกในแบบสำรวจลูกน้ำยุงลายและคำนวณดัชนีลูกน้ำยุงลายทุกเดือน เพื่อประเมินความชุกป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก โดยแกนนำสุขภาพในชุมชน เดินรณรงค์เคาะประตูบ้านประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และขอความร่วมมือประชาชนให้ร่วมกันทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย พร้อมมอบเอกสารหรือแผ่นปลิวการป้องกันโรคไข้เลือดออกให้กับประชาชนในชุมชน ซึ่งมีข้อมูลผลการสำรวจลูกน้ำยุงลายตั้งแต่เดือนมิถุนายน – สิงหาคม 2567
จากผลการสำรวจดังกล่าว พบว่า ค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายในบ้าน (HI) สูงที่สุดในเดือนกรกฎาคม 2567 ร้อยละ 9.46 และน้อยที่สุดในเดือนมิถุนายน ร้อยละ 6.29 ในเดือนสิงหาคม ค่า HI ลดลงจากเดือนกรกฎาคม ร้อยละ 1.9
3. สรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายในบ้าน House Index น้อยกว่าหรือเท่า 10 (HI ≤10)
4. สรุปค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ จำนวน 12,675 บาท โดยมีรายละเอียดดังนี้
กิจกรรมอบรมให้ความรู้
- ค่าสมนาคุณวิทยากร เป็นเงิน 3,000 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน เป็นเงิน 2,800 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม เป็นเงิน 2,400 บาท
- ค่าถ่ายเอกสารประกอบการอบรม/แบบประเมิน เป็นเงิน 298 บาท
- ค่าป้ายไวนิลโครงการ 1 ผืน เป็นเงิน 375 บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นเงิน 1,136 บาท
- ค่าเช่าเต็นท์/โต๊ะ/เก้าอี้ เป็นเงิน 1,500 บาท
กิจกรรมควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
- ค่าเอกสาร/แผ่นปลิว/เอกสารแบบสำรวจ/อื่นๆ เป็นเงิน 200 บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง เป็นเงิน 966 บาท
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก วิธีป้องกันและควบคุมโรคด้วยตนเอง ให้กับประชาชนในชุมชน ให้มีความตระหนักในการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในครัวเรือน
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
40
40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก วิธีป้องกันและควบคุมโรคด้วยตนเอง ให้กับประชาชนในชุมชน ให้มีความตระหนักในการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในครัวเรือน (2) เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการชุมชนกิตติคุณ ร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ปี 2567 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L6895-02-27
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการชุมชนกิตติคุณ ร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ปี 2567 ”
ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
สิงหาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L6895-02-27 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนกิตติคุณ ร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ปี 2567 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนกิตติคุณ ร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนกิตติคุณ ร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L6895-02-27 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 30 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,675.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขและเป็นปัญหาซึ่งปัจจุบันมีแนวโน้มของการเกิดโรคสูงขึ้น ในอดีตที่ผ่านมา กลุ่มผู้ป่วยส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 70-75 เป็นผู้ป่วยในกลุ่มอายุ 5-14 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มเด็กวัยเรียนและการเกิดโรคมักจะระบาดในช่วงฤดูฝน มาตรการการควบคุมโรคที่ได้ผลในขณะนี้ยังคงเป็นมาตรการการควบคุมยุงพาหะนำโรค ซึ่งเป็นการยากที่จะอาศัยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขของรัฐเพียงฝ่ายเดียว ดังนั้นการที่จะให้ได้ผลอย่างเต็มที่จึงต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกครัวเรือนร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและผู้นำชุมชนช่วยกันป้องกันโรคดังกล่าวในหลากหลายรูปแบบ เช่น การรณรงค์ การร่วมมือกับโรงเรียน ชุมชน สถานที่ราชการต่างๆ การจัดหาสารฆ่าลูกน้ำ การพ่นหมอกควันและสารเคมี การกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย การใช้วิธีทางธรรมชาติในการกำจัดลูกน้ำ และสำคัญที่สุดคือการรู้จักป้องกันตนเองไม่ให้ถูกยุงกัด ซึ่งจากรายงานสถานการณ์ไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองกันตัง เมื่อปี 2566 มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองกันตังรวมจำนวน 1 ราย โดยชุมชนกิตติคุณ มีจำนวน 164 หลังคาเรือน แต่ไม่พบผู้ป่วยไข้เลือดออกในชุมชน
ทางกลุ่มแกนนำสุขภาพชุมชนกิตติคุณ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน จึงต้องมีการป้องกันโดยการทำลายยุงลายและแหล่งเพาะพันธุ์ การสร้างความเข้าใจ ตระหนักและให้ความสำคัญ จึงเกิดความร่วมมือในชุมชนอย่างจริงจัง นำไปสู่การป้องกันโรคไข้เลือดออกได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก วิธีป้องกันและควบคุมโรคด้วยตนเอง ให้กับประชาชนในชุมชน ให้มีความตระหนักในการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในครัวเรือน
- เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 40 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องโรคไข้เลือดออก และมีความตระหนักในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในครัวเรือนอย่างต่อเนื่อง
- สามารถควบคุม ป้องกันการเกิดและแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชนได้ในระดับหนึ่ง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ |
||
วันที่ 24 มิถุนายน 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ08.30 น. – 09.00 น. ลงทะเบียนโดย แกนนำสุขภาพชุมชนกิตติคุณ
09.00 น. – 09.15 น. พิธีเปิด
09.45 น. – 10.00 น. พักรับประทานอาหารว่าง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
40 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว/ประชาชนในชุมชนที่สนใจเข้าร่วมโครงการ เป้าหมายจำนวน 40 คน ในเรื่อง สถานการณ์โรคไข้เลือดออก โรคไข้เลือดออก และการดูแลผู้ป่วยเบื้องต้น ชีววิทยาของยุง การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก และสาธิตการทำกับดักยุง โดยวิทยากรจากศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 12.3 จ.ตรัง มาให้ความรู้ดังกล่าว ซึ่งมีผู้เข้ารับการอบรมจำนวน 42 คน เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2567 ณ ชุมชนกิตติคุณ
- ประเมินความพึงพอใจผู้เข้ารับการอบรม เป้าหมายจำนวน 40 คน ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน 40 ชุด ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่ร้อยละ 90.6 มีความพึงพอใจในการดำเนินโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.53 โดยมีผลการประเมินแต่ละด้านดังนี้ 2.1 ด้านวิทยากร และสื่อที่ใช้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.36 คิดเป็นร้อยละ 87.2
- เนื้อหาครบถ้วนเหมาะสม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.28 คิดเป็นร้อยละ 85.6
- วิทยากรถ่ายทอดความรู้ และตอบข้อซักถามได้ชัดเจน มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.58 คิดเป็นร้อยละ 91.6
- สื่อที่ใช้ในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.23 คิดเป็นร้อยละ 84.6
2.2 ด้านความรู้ ความเข้าใจ และการนำไปใช้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.35 คิดเป็นร้อยละ 87
- มีความรู้ความเข้าใจหลังการอบรม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.33 คิดเป็นร้อยละ 86.6
- สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.33 คิดเป็นร้อยละ 86.6
- สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่/ถ่ายทอดได้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.40 คิดเป็นร้อยละ 88
2.3 ด้านสถานที่/ระยะเวลา มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.29 คิดเป็นร้อยละ 85.8
- สถานที่ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.38 คิดเป็นร้อยละ 87.6
- ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.20 คิดเป็นร้อยละ 84
2.4 ภาพรวมของโครงการ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.43 คิดเป็นร้อยละ 88.6
3. กิจกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน โดยจัดทำที่ใส่ทรายอะเบทจากเศษวัสดุเหลือใช้ พร้อมมอบให้ครัวเรือนที่สนใจนำไปใช้ในชุมชน
4. กิจกรรมสำรวจ/ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน/ครัวเรือนทุกเดือนๆ ละ 1 ครั้ง พร้อมลงบันทึกในแบบสำรวจลูกน้ำยุงลายและคำนวณดัชนีลูกน้ำยุงลายทุกเดือน เพื่อประเมินความชุกป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก โดยแกนนำสุขภาพในชุมชน เดินรณรงค์เคาะประตูบ้านประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และขอความร่วมมือประชาชนให้ร่วมกันทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย พร้อมมอบเอกสารหรือแผ่นปลิวการป้องกันโรคไข้เลือดออกให้กับประชาชนในชุมชน ซึ่งมีข้อมูลผลการสำรวจลูกน้ำยุงลายตั้งแต่เดือนมิถุนายน – สิงหาคม 2567
จากผลการสำรวจดังกล่าว พบว่า ค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายในบ้าน (HI) สูงที่สุดในเดือนกรกฎาคม 2567 ร้อยละ 9.46 และน้อยที่สุดในเดือนมิถุนายน ร้อยละ 6.29 ในเดือนสิงหาคม ค่า HI ลดลงจากเดือนกรกฎาคม ร้อยละ 1.9
3. สรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายในบ้าน House Index น้อยกว่าหรือเท่า 10 (HI ≤10)
4. สรุปค่าใช้จ่ายในการดำเนินโครงการ จำนวน 12,675 บาท โดยมีรายละเอียดดังนี้
กิจกรรมอบรมให้ความรู้
- ค่าสมนาคุณวิทยากร เป็นเงิน 3,000 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน เป็นเงิน 2,800 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม เป็นเงิน 2,400 บาท
- ค่าถ่ายเอกสารประกอบการอบรม/แบบประเมิน เป็นเงิน 298 บาท
- ค่าป้ายไวนิลโครงการ 1 ผืน เป็นเงิน 375 บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นเงิน 1,136 บาท
- ค่าเช่าเต็นท์/โต๊ะ/เก้าอี้ เป็นเงิน 1,500 บาท
กิจกรรมควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
- ค่าเอกสาร/แผ่นปลิว/เอกสารแบบสำรวจ/อื่นๆ เป็นเงิน 200 บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง เป็นเงิน 966 บาท
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก วิธีป้องกันและควบคุมโรคด้วยตนเอง ให้กับประชาชนในชุมชน ให้มีความตระหนักในการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในครัวเรือน ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | 40 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 40 | 40 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก วิธีป้องกันและควบคุมโรคด้วยตนเอง ให้กับประชาชนในชุมชน ให้มีความตระหนักในการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในครัวเรือน (2) เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการชุมชนกิตติคุณ ร่วมใจป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก ปี 2567 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L6895-02-27
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......