โครงการชุมชนหลังสโมสรเก่า ร่วมใจป้องกันภัยโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ปี 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการชุมชนหลังสโมสรเก่า ร่วมใจป้องกันภัยโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ปี 2567 ”
ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง
สิงหาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนหลังสโมสรเก่า ร่วมใจป้องกันภัยโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ปี 2567
ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L6895-02-29 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนหลังสโมสรเก่า ร่วมใจป้องกันภัยโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ปี 2567 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนหลังสโมสรเก่า ร่วมใจป้องกันภัยโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนหลังสโมสรเก่า ร่วมใจป้องกันภัยโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L6895-02-29 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 30 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,965.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคหัวใจและหลอดเลือด คือโรคที่เกิดจากความผิดปกติของหลอดเลือดส่งผลให้หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะสำคัญในร่างกายอุดตัน หรืออาจเสี่ยงถึงขั้นเส้นเลือดแตก โดยเฉพาะหากเกิดกับหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมอง หรือหัวใจ อาจถึงขั้นเสียชีวิตได้ ปัจจุบันโรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นสาเหตุอันดับหนึ่งที่คร่าชีวิตพลเมืองโลกมากที่สุด จากสถิติพบว่า ในทุก ๆ 2 วินาที จะมีคนเสียชีวิตด้วยโรคนี้ 1 คน โรคหัวใจและหลอดเลือดเกี่ยวข้องกับปัจจัยหลายประการ ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุและเพศ ปัจจัยด้านพฤติกรรม เช่น การออกกำลังกาย อาหาร การสูบบุหรี่ ดื่มสุรา และปัจจัยทางกายภาพ เช่น ความดันโลหิต ระดับไขมันในเลือด และเบาหวาน ปัจจัยเหล่านี้ล้วนเป็นความเสี่ยงของแต่ละบุคคลในการนำไปสู่โรคหัวใจและหลอดเลือดในระดับที่แตกต่างกัน ซึ่งบุคคลที่มีหลายปัจจัยร่วมกัน จะมีโอกาสเสี่ยงต่อโรคมากขึ้น การมีมาตรการเชิงรุกในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคหัวใจและหลอดเลือดในชุมชน โดยมีการคัดกรอง/ประเมินพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค ซึ่งมีเป้าหมายเป็นประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ต้องได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงด้วยการวัดความดันโลหิต การชั่งน้ำหนัก และการวัดเส้นรอบเอว ประเมินดัชนีมวลกาย การเจาะน้ำตาลในเลือด เพื่อประเมินความเสี่ยงเบื้องต้น และประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง
ทางกลุ่มแกนนำสุขภาพชุมชนหลังสโมสรเก่า ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการดูแลส่งเสริมสุขภาพของประชาชนในชุมชน จึงได้จัดทำโครงการชุมชนหลังสโมสรเก่า ร่วมใจป้องกันภัยโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ปี 2567 ขึ้น เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อหัวใจและหลอดเลือด มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง และเห็นความสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ สามารถดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัวได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปในชุมชน ได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง
- เพื่อให้ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง เห็นความสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมคัดกรอง/ประเมินความเสี่ยงแก่ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปในชุมชน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงในชุมชน
- กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงในชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปในชุมชน ร้อยละ 80 ได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง
- ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเห็นความสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมคัดกรอง/ประเมินความเสี่ยงแก่ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปในชุมชน
วันที่ 1 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
แกนนำสุขภาพในชุมชน ดำเนินการคัดกรอง/ประเมินสุขภาพเบื้องต้น (วัดความดันโลหิต/เจาะน้ำตาลปลายนิ้ว/วัดรอบเอว/ประเมินดัชนีมวลกาย) และประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีประชาชนในชุมชนได้รับการคัดกรอง จำนวน 298 คน (เป้าหมายจำนวน 277 คน) โดยมีผลการคัดกรองประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ดังนี้ เสี่ยงน้อยจำนวน 131 คน คิดเป็นร้อยละ 43.96 เสี่ยงปานกลาง จำนวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 25.50 เสี่ยงสูง จำนวน 91 คน คิดเป็นร้อยละ 30.54
0
0
2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงในชุมชน
วันที่ 15 กรกฎาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
08.30 น. - 09.00 น. ลงทะเบียนโดย แกนนำสุขภาพชุมชนหลังสโมสรเก่า
09.00 น. - 09.10 น. พิธีเปิดโครงการกล่าวเปิดการอบรม โดย นายกเทศมนตรีเมืองกันตัง (นายสรนนท์ จิโรจน์มนตรี) กล่าวรายงาน โดย ประธานแกนนำสุขภาพชุมชนหลังสโมสรเก่า (นางเดือนแรม บางบัวงาม)
09.10 น. - 10.00 น. บรรยายเรื่อง โรคหัวใจและโรคหลอดเลือดสมอง โดย วิทยากรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางเป้า
10.00 น. - 10.10 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.10 น. - 12.00 น. บรรยายเรื่อง การดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง โดย วิทยากรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางเป้า
12.00 น. - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 น. - 14.00 น. บรรยายเรื่อง อาหาร ลดเค็ม...ลดโรค โดย วิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง
14.00 น. - 14.10 น. พักรับประทานอาหารว่าง
14.10 น. - 15.10 น. บรรยายพร้อมฝึกปฏิบัติ เรื่อง ลดเสี่ยง ลดโรคด้วยสมาธิบำบัด...SKT โดย วิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง
15.10 น. - 15.30 น. - ตอบข้อซักถาม
- ประเมินความพึงพอใจ
- ปิดการประชุม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน 50 คน โดยให้ความรู้เรื่องโรคหัวใจและโรคหลอดเลือดสมอง การดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง อาหาร ลดเค็ม...ลดโรค ลดเสี่ยงลดโรคด้วยสมาธิบำบัด.. SKT โดยมีวิทยากรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนธานีและโรงพยาบาลกันตังมาให้ความรู้ดังกล่าว เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2567 ณ ชุมชนหลังสโมสรเก่า มีผู้เข้ารับการอบรมจำนวน 58 คน
- ประเมินความพึงพอใจผู้เข้ารับการอบรม เป้าหมายจำนวน 50 คน ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน 50 ชุด ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่ร้อยละ 92.6 มีความพึงพอใจในการดำเนินโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.63
0
0
3. กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงในชุมชน
วันที่ 28 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยง โดยแกนนำสุขภาพในชุมชนติดตามกลุ่มเสี่ยงในชุมชน มีการประเมินสุขภาพเบื้องต้นซ้ำ (วัดความดันโลหิต/เจาะน้ำตาลปลายนิ้ว/วัดรอบเอว/ประเมินดัชนีมวลกาย) และประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองซ้ำแก่กลุ่มเสี่ยง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยง โดยแกนนำสุขภาพในชุมชนติดตามกลุ่มเสี่ยงในชุมชน มีการประเมินสุขภาพเบื้องต้นซ้ำ (วัดความดันโลหิต/เจาะน้ำตาลปลายนิ้ว/วัดรอบเอว/ประเมินดัชนีมวลกาย) และประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองซ้ำแก่กลุ่มเสี่ยง
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- กิจกรรมคัดกรอง/ประเมินความเสี่ยงแก่ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปในชุมชน โดยแกนนำสุขภาพในชุมชน ดำเนินการคัดกรอง/ประเมินสุขภาพเบื้องต้น (วัดความดันโลหิต/เจาะน้ำตาลปลายนิ้ว/วัดรอบเอว/ประเมินดัชนีมวลกาย) และประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง มีประชาชนในชุมชนได้รับการคัดกรอง จำนวน 298 คน (เป้าหมายจำนวน 277 คน) โดยมีผลการคัดกรองประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ดังนี้ เสี่ยงน้อยจำนวน 131 คน คิดเป็นร้อยละ 43.96 เสี่ยงปานกลาง จำนวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 25.50 เสี่ยงสูง จำนวน 91 คน คิดเป็นร้อยละ 30.54
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน 50 คน โดยให้ความรู้เรื่องโรคหัวใจและโรคหลอดเลือดสมอง การดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง อาหาร ลดเค็ม...ลดโรค ลดเสี่ยงลดโรคด้วยสมาธิบำบัด.. SKT โดยมีวิทยากรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนธานีและโรงพยาบาลกันตังมาให้ความรู้ดังกล่าว เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2567 ณ ชุมชนหลังสโมสรเก่า มีผู้เข้ารับการอบรมจำนวน 58 คน
- ประเมินความพึงพอใจผู้เข้ารับการอบรม เป้าหมายจำนวน 50 คน ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน 50 ชุด ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่ร้อยละ 92.6 มีความพึงพอใจในการดำเนินโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.63 โดยมีผลการประเมินแต่ละด้านดังนี้
3.1 ด้านวิทยากรและสื่อที่ใช้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.65 คิดเป็นร้อยละ 93
- เนื้อหาครบถ้วนเหมาะสม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.80 คิดเป็นร้อยละ 96
- วิทยากรถ่ายทอดความรู้ และตอบข้อซักถามได้ชัดเจน มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.70 คิดเป็นร้อยละ 94
- สื่อที่ใช้ในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.44 คิดเป็นร้อยละ 88.8
3.2 ด้านความรู้ ความเข้าใจ และการนำไปใช้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.61 คิดเป็นร้อยละ 92.2
- มีความรู้ความเข้าใจหลังการอบรม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.64 คิดเป็นร้อยละ 92.8
- สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.68 คิดเป็นร้อยละ 93.6
- สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่/ถ่ายทอดได้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.52 คิดเป็นร้อยละ 90.4
3.3 ด้านสถานที่/ระยะเวลา มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.73 คิดเป็นร้อยละ 94.6
- สถานที่ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.76 คิดเป็นร้อยละ 95.2
- ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.70 คิดเป็นร้อยละ 94
3.4 ภาพรวมของโครงการ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.52 คิดเป็นร้อยละ 90.4
4. กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยง โดยแกนนำสุขภาพในชุมชนติดตามกลุ่มเสี่ยงในชุมชน มีการประเมินสุขภาพเบื้องต้นซ้ำ (วัดความดันโลหิต/เจาะน้ำตาลปลายนิ้ว/วัดรอบเอว/ประเมินดัชนีมวลกาย) และประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองซ้ำแก่กลุ่มเสี่ยง
5. สรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
1). ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่อาศัยอยู่จริงในชุมชน ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง คิดเป็นร้อยละ 100 (ตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ร้อยละ 80)
2). ร้อยละ 92.6 ของประชาชนที่เข้ารับการอบรม มีความพึงพอใจต่อการดำเนินโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด (ตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ร้อยละ 80 มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก)
6. สรุปค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานตามโครงการ จำนวนทั้งสิ้น 17,965 บาท โดยมีรายละเอียดดังนี้
กิจกรรมคัดกรองประเมินสุขภาพเบื้องต้น/ประเมินความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง
- ค่าจัดซื้อเครื่องชั่งน้ำหนัก 1 เครื่อง เป็นเงิน 800 บาท
- ค่าจัดซื้อเครื่องวัดความดันโลหิต 1 เครื่อง เป็นเงิน 2,500 บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์/อื่นๆที่เกี่ยวข้อง (สำลี, แอลกอฮอล์) เป็นเงิน 500 บาท
กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยง
- ค่าสมนาคุณวิทยากร 5 ชม.x 600 บ. เป็นเงิน 3,000 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 50 คน x 30 บ.x 2 มื้อ เป็นเงิน 3,000 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน 50 คน x 70 บ. x 1 มื้อ เป็นเงิน 3,500 บาท
- ค่าป้ายโครงการ 1 ผืน เป็นเงิน 375 บาท
- ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ 2 ผืน เป็นเงิน 750 บาท
- ค่าเอกสารประกอบการอบรม/แบบประเมินความพึงพอใจ เป็นเงิน 423 บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์/อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นเงิน 2,252 บาท
- ค่าเช่าเต็นท์/โต๊ะ/เก้าอี้ เป็นเงิน 325 บาท
กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงในชุมชน
- ค่าโฟมบอร์ดประชาสัมพันธ์แบบมีด้ามจับ 3 แผ่น เป็นเงิน 540 บาท
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปในชุมชน ได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อให้ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง เห็นความสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่อาศัยอยู่จริงในชุมชน ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง
2. ร้อยละ 80 ของประชาชนที่เข้ารับการอบรม มีความพึงพอใจต่อการดำเนินโครงการอยู่ในระดับมาก
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปในชุมชน ได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง (2) เพื่อให้ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง เห็นความสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรอง/ประเมินความเสี่ยงแก่ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปในชุมชน (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงในชุมชน (3) กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงในชุมชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการชุมชนหลังสโมสรเก่า ร่วมใจป้องกันภัยโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ปี 2567 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L6895-02-29
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการชุมชนหลังสโมสรเก่า ร่วมใจป้องกันภัยโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ปี 2567 ”
ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
สิงหาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L6895-02-29 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนหลังสโมสรเก่า ร่วมใจป้องกันภัยโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ปี 2567 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนหลังสโมสรเก่า ร่วมใจป้องกันภัยโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนหลังสโมสรเก่า ร่วมใจป้องกันภัยโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L6895-02-29 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 30 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,965.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคหัวใจและหลอดเลือด คือโรคที่เกิดจากความผิดปกติของหลอดเลือดส่งผลให้หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะสำคัญในร่างกายอุดตัน หรืออาจเสี่ยงถึงขั้นเส้นเลือดแตก โดยเฉพาะหากเกิดกับหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมอง หรือหัวใจ อาจถึงขั้นเสียชีวิตได้ ปัจจุบันโรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นสาเหตุอันดับหนึ่งที่คร่าชีวิตพลเมืองโลกมากที่สุด จากสถิติพบว่า ในทุก ๆ 2 วินาที จะมีคนเสียชีวิตด้วยโรคนี้ 1 คน โรคหัวใจและหลอดเลือดเกี่ยวข้องกับปัจจัยหลายประการ ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุและเพศ ปัจจัยด้านพฤติกรรม เช่น การออกกำลังกาย อาหาร การสูบบุหรี่ ดื่มสุรา และปัจจัยทางกายภาพ เช่น ความดันโลหิต ระดับไขมันในเลือด และเบาหวาน ปัจจัยเหล่านี้ล้วนเป็นความเสี่ยงของแต่ละบุคคลในการนำไปสู่โรคหัวใจและหลอดเลือดในระดับที่แตกต่างกัน ซึ่งบุคคลที่มีหลายปัจจัยร่วมกัน จะมีโอกาสเสี่ยงต่อโรคมากขึ้น การมีมาตรการเชิงรุกในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคหัวใจและหลอดเลือดในชุมชน โดยมีการคัดกรอง/ประเมินพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค ซึ่งมีเป้าหมายเป็นประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ต้องได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงด้วยการวัดความดันโลหิต การชั่งน้ำหนัก และการวัดเส้นรอบเอว ประเมินดัชนีมวลกาย การเจาะน้ำตาลในเลือด เพื่อประเมินความเสี่ยงเบื้องต้น และประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง
ทางกลุ่มแกนนำสุขภาพชุมชนหลังสโมสรเก่า ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการดูแลส่งเสริมสุขภาพของประชาชนในชุมชน จึงได้จัดทำโครงการชุมชนหลังสโมสรเก่า ร่วมใจป้องกันภัยโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ปี 2567 ขึ้น เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อหัวใจและหลอดเลือด มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง และเห็นความสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ สามารถดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัวได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปในชุมชน ได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง
- เพื่อให้ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง เห็นความสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมคัดกรอง/ประเมินความเสี่ยงแก่ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปในชุมชน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงในชุมชน
- กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงในชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปในชุมชน ร้อยละ 80 ได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง
- ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเห็นความสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมคัดกรอง/ประเมินความเสี่ยงแก่ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปในชุมชน |
||
วันที่ 1 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำแกนนำสุขภาพในชุมชน ดำเนินการคัดกรอง/ประเมินสุขภาพเบื้องต้น (วัดความดันโลหิต/เจาะน้ำตาลปลายนิ้ว/วัดรอบเอว/ประเมินดัชนีมวลกาย) และประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีประชาชนในชุมชนได้รับการคัดกรอง จำนวน 298 คน (เป้าหมายจำนวน 277 คน) โดยมีผลการคัดกรองประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ดังนี้ เสี่ยงน้อยจำนวน 131 คน คิดเป็นร้อยละ 43.96 เสี่ยงปานกลาง จำนวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 25.50 เสี่ยงสูง จำนวน 91 คน คิดเป็นร้อยละ 30.54
|
0 | 0 |
2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงในชุมชน |
||
วันที่ 15 กรกฎาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ08.30 น. - 09.00 น. ลงทะเบียนโดย แกนนำสุขภาพชุมชนหลังสโมสรเก่า
09.00 น. - 09.10 น. พิธีเปิดโครงการกล่าวเปิดการอบรม โดย นายกเทศมนตรีเมืองกันตัง (นายสรนนท์ จิโรจน์มนตรี) กล่าวรายงาน โดย ประธานแกนนำสุขภาพชุมชนหลังสโมสรเก่า (นางเดือนแรม บางบัวงาม)
09.10 น. - 10.00 น. บรรยายเรื่อง โรคหัวใจและโรคหลอดเลือดสมอง โดย วิทยากรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางเป้า
10.00 น. - 10.10 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.10 น. - 12.00 น. บรรยายเรื่อง การดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง โดย วิทยากรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางเป้า
12.00 น. - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 น. - 14.00 น. บรรยายเรื่อง อาหาร ลดเค็ม...ลดโรค โดย วิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
3. กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงในชุมชน |
||
วันที่ 28 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำกิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยง โดยแกนนำสุขภาพในชุมชนติดตามกลุ่มเสี่ยงในชุมชน มีการประเมินสุขภาพเบื้องต้นซ้ำ (วัดความดันโลหิต/เจาะน้ำตาลปลายนิ้ว/วัดรอบเอว/ประเมินดัชนีมวลกาย) และประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองซ้ำแก่กลุ่มเสี่ยง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยง โดยแกนนำสุขภาพในชุมชนติดตามกลุ่มเสี่ยงในชุมชน มีการประเมินสุขภาพเบื้องต้นซ้ำ (วัดความดันโลหิต/เจาะน้ำตาลปลายนิ้ว/วัดรอบเอว/ประเมินดัชนีมวลกาย) และประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองซ้ำแก่กลุ่มเสี่ยง
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- กิจกรรมคัดกรอง/ประเมินความเสี่ยงแก่ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปในชุมชน โดยแกนนำสุขภาพในชุมชน ดำเนินการคัดกรอง/ประเมินสุขภาพเบื้องต้น (วัดความดันโลหิต/เจาะน้ำตาลปลายนิ้ว/วัดรอบเอว/ประเมินดัชนีมวลกาย) และประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง มีประชาชนในชุมชนได้รับการคัดกรอง จำนวน 298 คน (เป้าหมายจำนวน 277 คน) โดยมีผลการคัดกรองประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ดังนี้ เสี่ยงน้อยจำนวน 131 คน คิดเป็นร้อยละ 43.96 เสี่ยงปานกลาง จำนวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 25.50 เสี่ยงสูง จำนวน 91 คน คิดเป็นร้อยละ 30.54
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน 50 คน โดยให้ความรู้เรื่องโรคหัวใจและโรคหลอดเลือดสมอง การดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง อาหาร ลดเค็ม...ลดโรค ลดเสี่ยงลดโรคด้วยสมาธิบำบัด.. SKT โดยมีวิทยากรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนธานีและโรงพยาบาลกันตังมาให้ความรู้ดังกล่าว เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2567 ณ ชุมชนหลังสโมสรเก่า มีผู้เข้ารับการอบรมจำนวน 58 คน
- ประเมินความพึงพอใจผู้เข้ารับการอบรม เป้าหมายจำนวน 50 คน ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน 50 ชุด ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่ร้อยละ 92.6 มีความพึงพอใจในการดำเนินโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.63 โดยมีผลการประเมินแต่ละด้านดังนี้
3.1 ด้านวิทยากรและสื่อที่ใช้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.65 คิดเป็นร้อยละ 93
- เนื้อหาครบถ้วนเหมาะสม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.80 คิดเป็นร้อยละ 96
- วิทยากรถ่ายทอดความรู้ และตอบข้อซักถามได้ชัดเจน มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.70 คิดเป็นร้อยละ 94
- สื่อที่ใช้ในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.44 คิดเป็นร้อยละ 88.8
3.2 ด้านความรู้ ความเข้าใจ และการนำไปใช้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.61 คิดเป็นร้อยละ 92.2
- มีความรู้ความเข้าใจหลังการอบรม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.64 คิดเป็นร้อยละ 92.8
- สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.68 คิดเป็นร้อยละ 93.6
- สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่/ถ่ายทอดได้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.52 คิดเป็นร้อยละ 90.4
3.3 ด้านสถานที่/ระยะเวลา มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.73 คิดเป็นร้อยละ 94.6
- สถานที่ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.76 คิดเป็นร้อยละ 95.2
- ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.70 คิดเป็นร้อยละ 94
3.4 ภาพรวมของโครงการ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.52 คิดเป็นร้อยละ 90.4
4. กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยง โดยแกนนำสุขภาพในชุมชนติดตามกลุ่มเสี่ยงในชุมชน มีการประเมินสุขภาพเบื้องต้นซ้ำ (วัดความดันโลหิต/เจาะน้ำตาลปลายนิ้ว/วัดรอบเอว/ประเมินดัชนีมวลกาย) และประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองซ้ำแก่กลุ่มเสี่ยง
5. สรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด
1). ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่อาศัยอยู่จริงในชุมชน ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง คิดเป็นร้อยละ 100 (ตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ร้อยละ 80)
2). ร้อยละ 92.6 ของประชาชนที่เข้ารับการอบรม มีความพึงพอใจต่อการดำเนินโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด (ตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ร้อยละ 80 มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก)
6. สรุปค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานตามโครงการ จำนวนทั้งสิ้น 17,965 บาท โดยมีรายละเอียดดังนี้
กิจกรรมคัดกรองประเมินสุขภาพเบื้องต้น/ประเมินความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง
- ค่าจัดซื้อเครื่องชั่งน้ำหนัก 1 เครื่อง เป็นเงิน 800 บาท
- ค่าจัดซื้อเครื่องวัดความดันโลหิต 1 เครื่อง เป็นเงิน 2,500 บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์/อื่นๆที่เกี่ยวข้อง (สำลี, แอลกอฮอล์) เป็นเงิน 500 บาท
กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยง
- ค่าสมนาคุณวิทยากร 5 ชม.x 600 บ. เป็นเงิน 3,000 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 50 คน x 30 บ.x 2 มื้อ เป็นเงิน 3,000 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน 50 คน x 70 บ. x 1 มื้อ เป็นเงิน 3,500 บาท
- ค่าป้ายโครงการ 1 ผืน เป็นเงิน 375 บาท
- ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ 2 ผืน เป็นเงิน 750 บาท
- ค่าเอกสารประกอบการอบรม/แบบประเมินความพึงพอใจ เป็นเงิน 423 บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์/อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นเงิน 2,252 บาท
- ค่าเช่าเต็นท์/โต๊ะ/เก้าอี้ เป็นเงิน 325 บาท
กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงในชุมชน
- ค่าโฟมบอร์ดประชาสัมพันธ์แบบมีด้ามจับ 3 แผ่น เป็นเงิน 540 บาท
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปในชุมชน ได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อให้ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง เห็นความสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่อาศัยอยู่จริงในชุมชน ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง 2. ร้อยละ 80 ของประชาชนที่เข้ารับการอบรม มีความพึงพอใจต่อการดำเนินโครงการอยู่ในระดับมาก |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | 50 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปในชุมชน ได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง (2) เพื่อให้ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง เห็นความสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรอง/ประเมินความเสี่ยงแก่ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปในชุมชน (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงในชุมชน (3) กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงในชุมชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการชุมชนหลังสโมสรเก่า ร่วมใจป้องกันภัยโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ปี 2567 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L6895-02-29
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......