กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนทราย


“ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิตลดเบาหวาน/ ลดความดัน ตามวิถีชุมชน ”

ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวพาตีเมาะ ฮาแว

ชื่อโครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิตลดเบาหวาน/ ลดความดัน ตามวิถีชุมชน

ที่อยู่ ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิตลดเบาหวาน/ ลดความดัน ตามวิถีชุมชน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนทราย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิตลดเบาหวาน/ ลดความดัน ตามวิถีชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิตลดเบาหวาน/ ลดความดัน ตามวิถีชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,520.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนทราย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ได้ให้ความสำคัญกับกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในหารพัฒนาประเทศด้านต่างๆ โดยการเฉพาะทางด้านการส่งเสริมสร้างสุขภาวะให้คนไทยมีสุขภาพแข็งแรงทั้งกายและใจ สามารถดูแลตนเองด้วยการมุ่งเน้นการวิจัยและพัฒนาทุนสังคม และภูมิปัญญาชุมชน ตลอดการมีส่วนร่วมของพื้นที่ระดับท้องถิ่น กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จของการสร้างสุขภาวะให้คนไทยแข็งแรง ส่วนหนึ่งนั้น โดยได้กำหนดของตัวชี้วัดของโรคไม่ติดต่อ ได้แก่โรคความดันโลหิตสูง โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ โดยกำหนดให้มีกิจกรรมคัดกรอง ค้นหาผู้ป่วยในชุมชน และให้มีการลดละพฤติกรรมเสี่ยง อันได้แก่ลดละกิจกรรมเสี่ยงอันได้แก่ละเลิกบุหรี่ ไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ลดอาหารที่มีความหวาน มัน เค็ม และปรับเปลี่ยนพฤกรรม การรับประทานผัดผลไม้เพิ่มขึ้น มีการออกกำลังกายเป็นประจำ ลดละน้ำหนักเกิน การดำเนินงานให้ประสบความสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพอย่างยั่งยืนนั้นจำเป็นจะต้องอาศัยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง และกำหนดการยุทธศาสตร์ที่เหมาะสมของพื้นที่ จาการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ในปีงบประมาณ 2567 เป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป กลุ่มเป้าหมายเป้า จำนวน 471 คน คัดกรองได้ 220 คน คิดเป็นร้อยละ 46.70 พบ กลุ่มเสี่ยงโรคความดันเบาหวาน จำนวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ 14.09 กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 25.45 กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง 35 คน คิดเป็นร้อยละ 15.90 จากสถานการณ์กลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าไหม้จึงจัดทำโครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิตลดเบาหวาน/ ลดความดัน ตามวิถีชุมชน ขึ้น เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จนเป็นกลุ่มปกติในที่สุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง มีความรู้ในการดูแลตนเองและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ได้
  2. 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงความดันและเบาหวาน มีระดับความดันและเบาหวานอยู่ในเกณฑ์
  3. 3.เพื่อให้เกิดเครือข่ายเพื่อช่วยเพื่อน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. กลุ่มเสี่ยงความดันและเบาหวาน มีความรู้ในการดูแลตนเองและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ได้ ร้อยละ 60 2กลุ่มเสี่ยงความดันและเบาหวาน มีระดับความดันและเบาหวานอยู่ในเกณฑ์ปกติร้อยละ 60
      3.เกิดเครือข่ายเพื่อช่วยเพื่อน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง มีความรู้ในการดูแลตนเองและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ได้
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงความดันและเบาหวาน มีระดับความดันและเบาหวานอยู่ในเกณฑ์
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3.เพื่อให้เกิดเครือข่ายเพื่อช่วยเพื่อน
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง มีความรู้ในการดูแลตนเองและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ได้ (2) 2.เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงความดันและเบาหวาน มีระดับความดันและเบาหวานอยู่ในเกณฑ์ (3) 3.เพื่อให้เกิดเครือข่ายเพื่อช่วยเพื่อน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิตลดเบาหวาน/ ลดความดัน ตามวิถีชุมชน จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวพาตีเมาะ ฮาแว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด