โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กนักเรียน โรงเรียนเทศบาลบ้านคลองภาษี ปี 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กนักเรียน โรงเรียนเทศบาลบ้านคลองภาษี ปี 2567 ”
ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนเทศบาลบ้านคลองภาษี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กนักเรียน โรงเรียนเทศบาลบ้านคลองภาษี ปี 2567
ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L6895-02-35 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กนักเรียน โรงเรียนเทศบาลบ้านคลองภาษี ปี 2567 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กนักเรียน โรงเรียนเทศบาลบ้านคลองภาษี ปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กนักเรียน โรงเรียนเทศบาลบ้านคลองภาษี ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L6895-02-35 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,180.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ ตลอดจนมีเป้าหมายให้ผู้เรียน เป็นคนเก่งและมีความสุข มุ่งเน้นให้ค้นพบความสามารถและความถนัด มาตรา 6 ของ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติได้เน้นให้การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้ง ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข สุขภาพที่ดีเป็นพื้นฐานของคุณภาพชีวิตในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เป็นแนวทางใหม่ในการปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องแก่เยาวชนรุ่นใหม่ และเป็นศูนย์กลางในการสร้างสุขภาพที่ดีแก่เยาวชนในชุมชน นักเรียนทุกคนจะต้องทราบนโยบายที่เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพของโรงเรียน การพัฒนาสุขภาพของโรงเรียนโดยส่งเสริมให้ทุกคนมาให้ความสำคัญ และรู้จักปฏิบัติตนในการดูแลสุขภาพตนเอง ตลอดทั้งสามารถควบคุมมูลเหตุ ปัจจัยและสภาพแวดล้อมก็มีผลต่อสุขภาพ ภายใต้การมีส่วนร่วมของภาคีต่าง ๆ ในพื้นที่เป็นทางเลือกที่สำคัญของการใช้สถานศึกษาเป็นจุดเริ่มต้นและศูนย์กลางของการสร้างสุขภาพแก่เด็ก เพื่อช่วยให้ทุกคนมีสุขภาพที่ดี
สุขภาพช่องปากมีความสำคัญต่อสุขภาพของทุกคน โดยเฉพาะในเด็กวัยเรียน โรคฟันผุในเด็กสามารถพบได้ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นและอัตราการผุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว สาเหตุหลักที่ทำให้เด็กมีฟันผุมาจากพฤติกรรมของมารดาในการเลี้ยงดูบุตรที่ไม่ถูกต้อง รวมถึงการดูแลทำความสะอาดช่องปากไม่ถูกวิธี และมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสมก่อให้เกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนมอย่างรุนแรงทำให้เด็กมีความเจ็บปวด เคี้ยวอาหารไม่ได้ตามปกติ ได้รับสารอาหารที่จำเป็นไม่เพียงพอ และส่งผลต่อพัฒนาการการเจริญเติบโตของเด็กได้ การเกิดฟันผุในฟันน้ำนม นอกจากจะมีผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพของเด็กในขณะนั้นแล้วยังมีผลเสียต่อฟันแท้ของเด็กในอนาคตด้วย
การแก้ไขปัญหาดังกล่าวทำได้โดยการใช้รูปแบบการให้บริการทันตกรรมครบวงจร การตรวจสุขภาพช่องปาก การให้สุขศึกษา บริการทันตกรรม การแปรงฟันที่ถูกวิธี การบำบัดรักษา และการติดตาม ประเมินผล ทางโรงเรียนเทศบาลบ้านคลองภาษีร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพของเทศบาลเมืองกันตัง ได้ให้ความสำคัญในการเฝ้าระวังทันตสุขภาพและตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กนักเรียน โรงเรียนเทศบาลบ้านคลองภาษี ปี 2567 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียน มีความรู้ด้านการดูแลรักษาสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี
- เพื่อให้นักเรียนได้รับการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและฟัน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
70
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีความรู้ด้านการรักษาสุขภาพอนามัยช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี
- นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและฟัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ
วันที่ 27 สิงหาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมเชิงปฏิบัติการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่นักเรียนชั้นป.1-3 จำนวน 63 คน เมื่อวันที่ 27 ส.ค. 67 ณ ห้องประชุมโรงเรียนเทศบาลบ้านคลองภาษี เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน การตรวจฟันที่ถูกวิธี การเคี้ยวเม็ดสีที่ได้รับจากโครงการ และนักเรียนได้ปฏิบัติจริงในการแปรงการฟันจากอุปกรณ์การแปรงฟัน
- ผลการประเมินความรู้ก่อน-หลัง ก่อนการอบรม นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจคิดเป็นร้อยละ 45.5 หลังการอบรม มีความรู้ความเข้าใจร้อยละ 82.5
- กิจกรรมรณรงค์การดูแลสุขภาพช่องปากในโรงเรียน โดยให้นักเรียนได้แปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวัน ภายใต้การดูแลควบคุมของครูประจำชั้น ซึ่งมีนักเรียนเข้าร่วมรณรงค์การดูแลสุขภาพช่องปากในโรงเรียน จำนวน 63 คน
- ติดตามประเมินผลการดุแลสุขภาพช่องปากในนักเรียน ดดยครูประจำชั้นใช้แบบบันทึกการแปรงฟันของนักเรียน
- สรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด รน้อยละ 80 ของนักเรียนที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน ร้อยละ 100 นักเรียนชั้น ป.1-3 ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก พบว่า ร้อยละ 25 ยังมีปัญหาฟันผุ นักเรียนร้อยละ 20 ยังแปรงฟันไม่สะอาด
70
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้นักเรียน มีความรู้ด้านการดูแลรักษาสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อให้นักเรียนได้รับการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและฟัน
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
70
63
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
70
63
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียน มีความรู้ด้านการดูแลรักษาสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี (2) เพื่อให้นักเรียนได้รับการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและฟัน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กนักเรียน โรงเรียนเทศบาลบ้านคลองภาษี ปี 2567 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L6895-02-35
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงเรียนเทศบาลบ้านคลองภาษี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กนักเรียน โรงเรียนเทศบาลบ้านคลองภาษี ปี 2567 ”
ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนเทศบาลบ้านคลองภาษี
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L6895-02-35 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กนักเรียน โรงเรียนเทศบาลบ้านคลองภาษี ปี 2567 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กนักเรียน โรงเรียนเทศบาลบ้านคลองภาษี ปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กนักเรียน โรงเรียนเทศบาลบ้านคลองภาษี ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L6895-02-35 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,180.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ ตลอดจนมีเป้าหมายให้ผู้เรียน เป็นคนเก่งและมีความสุข มุ่งเน้นให้ค้นพบความสามารถและความถนัด มาตรา 6 ของ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติได้เน้นให้การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้ง ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข สุขภาพที่ดีเป็นพื้นฐานของคุณภาพชีวิตในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เป็นแนวทางใหม่ในการปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องแก่เยาวชนรุ่นใหม่ และเป็นศูนย์กลางในการสร้างสุขภาพที่ดีแก่เยาวชนในชุมชน นักเรียนทุกคนจะต้องทราบนโยบายที่เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพของโรงเรียน การพัฒนาสุขภาพของโรงเรียนโดยส่งเสริมให้ทุกคนมาให้ความสำคัญ และรู้จักปฏิบัติตนในการดูแลสุขภาพตนเอง ตลอดทั้งสามารถควบคุมมูลเหตุ ปัจจัยและสภาพแวดล้อมก็มีผลต่อสุขภาพ ภายใต้การมีส่วนร่วมของภาคีต่าง ๆ ในพื้นที่เป็นทางเลือกที่สำคัญของการใช้สถานศึกษาเป็นจุดเริ่มต้นและศูนย์กลางของการสร้างสุขภาพแก่เด็ก เพื่อช่วยให้ทุกคนมีสุขภาพที่ดี
สุขภาพช่องปากมีความสำคัญต่อสุขภาพของทุกคน โดยเฉพาะในเด็กวัยเรียน โรคฟันผุในเด็กสามารถพบได้ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นและอัตราการผุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว สาเหตุหลักที่ทำให้เด็กมีฟันผุมาจากพฤติกรรมของมารดาในการเลี้ยงดูบุตรที่ไม่ถูกต้อง รวมถึงการดูแลทำความสะอาดช่องปากไม่ถูกวิธี และมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสมก่อให้เกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนมอย่างรุนแรงทำให้เด็กมีความเจ็บปวด เคี้ยวอาหารไม่ได้ตามปกติ ได้รับสารอาหารที่จำเป็นไม่เพียงพอ และส่งผลต่อพัฒนาการการเจริญเติบโตของเด็กได้ การเกิดฟันผุในฟันน้ำนม นอกจากจะมีผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพของเด็กในขณะนั้นแล้วยังมีผลเสียต่อฟันแท้ของเด็กในอนาคตด้วย
การแก้ไขปัญหาดังกล่าวทำได้โดยการใช้รูปแบบการให้บริการทันตกรรมครบวงจร การตรวจสุขภาพช่องปาก การให้สุขศึกษา บริการทันตกรรม การแปรงฟันที่ถูกวิธี การบำบัดรักษา และการติดตาม ประเมินผล ทางโรงเรียนเทศบาลบ้านคลองภาษีร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพของเทศบาลเมืองกันตัง ได้ให้ความสำคัญในการเฝ้าระวังทันตสุขภาพและตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กนักเรียน โรงเรียนเทศบาลบ้านคลองภาษี ปี 2567 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียน มีความรู้ด้านการดูแลรักษาสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี
- เพื่อให้นักเรียนได้รับการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและฟัน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 70 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีความรู้ด้านการรักษาสุขภาพอนามัยช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี
- นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและฟัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ |
||
วันที่ 27 สิงหาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำอบรมเชิงปฏิบัติการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
70 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียน มีความรู้ด้านการดูแลรักษาสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อให้นักเรียนได้รับการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและฟัน ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 70 | 63 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 70 | 63 | |
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียน มีความรู้ด้านการดูแลรักษาสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี (2) เพื่อให้นักเรียนได้รับการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและฟัน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กนักเรียน โรงเรียนเทศบาลบ้านคลองภาษี ปี 2567 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L6895-02-35
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงเรียนเทศบาลบ้านคลองภาษี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......