โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก ลดเสี่ยง ลดซีด ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย ตำบลบาราเฮาะ ปีงบประมาณ 2568
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก ลดเสี่ยง ลดซีด ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย ตำบลบาราเฮาะ ปีงบประมาณ 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L3015-01-09 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาราเฮาะ |
วันที่อนุมัติ | 7 พฤศจิกายน 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ธันวาคม 2567 - 25 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 22 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 13,460.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลบาราเฮาะ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ ที่ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ | 75.00 | ||
2 | ร้อยละของหญิงฝากครรภ์ที่สามารถฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง | 75.00 | ||
3 | ร้อยละของหญิงวัยเจริญพันธุ์ ที่มีภาวะซีด | 40.68 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
งานอนามัยแม่และเด็กเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของจังหวัดปัตตานีที่ต้องได้รับการแก้ไข รัฐบาลมีนโยบายในการส่งเสริมสุขภาพ เน้นการสร้างสุขภาพมากกว่าซ่อมสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพด้านอนามัยแม่และเด็กและการนำเอาครอบครัวมามีส่วนร่วมในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ เป็นเป้าหมายสำคัญประการหนึ่งในแผนงานส่งเสริมสุขภาพ ซึ่งเป็นเป้าหมายสูงสุด คือ การเข้าถึงสถานบริการและการมีสุขภาพที่ดีของแม่และลูก ซึ่งมีตัวชี้วัดที่สำคัญ คือ หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ ก่อน ๑๒ สัปดาห์ ร้อยละ 75 ได้รับการดูแลก่อนคลอด ๕ ครั้ง ตามเกณฑ์ ร้อยละ 75 ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ใน LAB๒ น้อยกว่าร้อยละ ๓๐ อัตราการคลอดในโรงพยาบาล ร้อยละ 100 ทารกแรกเกิด คลอดน้ำหนักต่ำกว่า ๒,๕๐๐ กรัม น้อยกว่าร้อยละ ๗ มารดาตาย ร้อยละ ๑8/พัน LB และทารกตาย ร้อยละ 15/พัน เนื่องจากงานอนามัยแม่และเด็กเป็นงานที่เชื่อมโยงกับงานอื่นๆ ถ้าหากหญิงตั้งครรภ์มีความรู้ ความเข้าใจและมีความตระหนัก ในการดูแลสุขภาพตัวเอง เมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์ ต้องมาฝากครรภ์ทันทีก่อนอายุครรภ์ ๑๒ สัปดาห์ จะได้รับการประเมินปัจจัยเสี่ยง การตรวจชันสูตรโรค การฉีดวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ ๕ ครั้ง ตามเกณฑ์ และคลอดในสถานบริการ ทำให้สามารถลดปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ในระหว่างตั้งครรภ์และการคลอด ทำให้แม่และเด็กคลอดอย่างปลอดภัยและยังทำให้การพัฒนางานสาธารณสุขด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมีคุณภาพมากยิ่งขึ้นด้วย จากผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กในปีงบประมาณ 2567 ที่ผ่านมา ตำบลบาราเฮาะพบปัญหาภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ใน LAB๒ ร้อยละ 40.68
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (เพิ่มขึ้น) |
75.00 | 90.00 |
2 | เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ร้อยละของหญิงฝากครรภ์ ที่สามารถฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง เพิ่มขึ้น |
75.00 | 90.00 |
3 | เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ร้อยละของหญิงวัยเจริญพันธุ์ ที่มีภาวะซีด ลดลง |
40.68 | 20.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 13,460.00 | 0 | 0.00 | |
10 - 25 ธ.ค. 67 | กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้หญิงตั้งครรภ์/สามีหรือญาติหญิงตั้งครรภ์ตำบลบาราเฮาะ | 0 | 13,460.00 | - | ||
24 ธ.ค. 67 - 24 มิ.ย. 68 | กิจกรรมที่ 2 ค้นหาหญิงตั้งครรภ์ที่มีการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องตลอดการตั้งครรภ์ | 0 | 0.00 | - |
1.หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลสุขภาพตนเองและลูกในครรภ์ ในขณะตั้งครรภ์ ขณะคลอดและหลัง คลอดได้อย่างถูกต้อง 2.หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางในระหว่างการตั้งครรภ์ได้รับการดูแลอย่างถูกต้อง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 พ.ย. 2567 00:00 น.