โครงการ คัดแยกและรวบรวมขยะอันตราย เพื่อสุขภาพที่ดีของคนเบตง ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ คัดแยกและรวบรวมขยะอันตราย เพื่อสุขภาพที่ดีของคนเบตง ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางอารีย์ แซ่หลี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง
เมษายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการ คัดแยกและรวบรวมขยะอันตราย เพื่อสุขภาพที่ดีของคนเบตง ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L7161-2-4 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 เมษายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ คัดแยกและรวบรวมขยะอันตราย เพื่อสุขภาพที่ดีของคนเบตง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ คัดแยกและรวบรวมขยะอันตราย เพื่อสุขภาพที่ดีของคนเบตง ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ คัดแยกและรวบรวมขยะอันตราย เพื่อสุขภาพที่ดีของคนเบตง ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2568-L7161-2-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 เมษายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,610.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันประเทศไทยเผชิญปัญหามลพิษ จากการจัดการของเสียอันตราย หรือ ขยะพิษ ไม่ได้มาตรฐานโดยพบว่า มือถือเก่า โน้ตบุ๊ก แล็ปท็อป ทีวีเก่า ตู้เย็น เครื่องปรับอากาศ ถูกทิ้งปะปนกับขยะมูลฝอยทั่วไปและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี ขณะที่ซากชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้าโดนถอดแยกชิ้นส่วนแล้วเผาทำลาย เทกอง ส่งผลกระทบต่อคุณภาพอากาศ คุณภาพน้ำ สารเคมีอันตรายปนเปื้อนอยู่ในสิ่งแวดล้อม องค์ประกอบทางเคมีทั้งปรอท ตะกั่ว หรือโลหะหนัก ล้วนเป็นสารก่อมะเร็งเพิ่มความเสี่ยงต่อสุขภาพของประชาชนมากยิ่งขึ้น ข้อมูลจากรายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย โดยกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทส.) ระบุว่าของเสียอันตรายจากชุมชนเกิดขึ้น 638,000 ตันต่อปี โดยเป็นซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์414,600 ตันต่อปี หรือร้อยละ 65 อีก 223,400 ตัน หรือร้อยละ 35 เป็นของเสียอันตรายประเภทอื่นๆ เช่น แบตเตอรี่ ถ่าน ไฟฉาย ภาชนะบรรจุสารเคมี กระป๋องสเปรย์ของเสียอันตรายเหล่านี้ได้รับการจัดการอย่างถูกต้องเพิ่มขึ้นเพียง 83,600 ตัน หรือร้อยละ 13 เท่านั้น ซึ่งในรายงานมลพิษฉบับล่าสุดนี้ ได้ระบุการจัดการยังไม่เพียงพอ ขาดกฎระเบียบที่จะคัดแยกของเสียอันตรายจากขยะทั่วไป และประเทศไทยยังไม่มีกฎหมายกำกับดูแล ในการให้ภาคเอกชนรับผิดชอบในการจัดการซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ จากปัญหาภาวะมลพิษที่เกิดจากขยะที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ความเดือดร้อนและสุขภาพอนามัยของประชาชนอย่างต่อเนื่อง
เทศบาลเมืองเบตงมีการรวบรวมขยะอันตรายเพื่อนำส่งไปยังองค์การบริหารส่วนจังหวัดยะลา โดยในปีงบประมาณ 2567 เทศบาลเมืองเบตงได้รวบรวมขยะอันตรายจากชุมชนได้ประมาณ 2,370 กิโลกรัม โดยยังพบมีขยะอันตรายที่เข้าสู่ระบบฝังกลบขยะ แสดงให้เห็นว่ายังมีขยะอันตรายบางส่วนไม่ได้รับการคัดแยกและรวบรวม ซึ่งสถานการณ์ดังกล่าวอาจก่อให้เกิดการปนเปื้อนของสารพิษของขยะอันตรายลงสู่สิ่งแวดล้อมที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพประชาชนชาวเบตงได้ และจากการสำรวจข้อมูลในชุมชนรัตนกิจเทศบาลเมืองเบตง พบว่าประชาชนส่วนใหญ่ในชุมชนได้ทิ้งขยะอันตรายรวมกับขยะมูลฝอยทั่วไป โดยไม่มีการแยกขยะอันตรายทิ้งต่างหากอย่างไม่ถูกวิธีทำให้เกิดปัญหามลพิษทางอากาศ การปนเปื้อนต่อสิ่งแวดล้อม การแพร่กระจายของเชื้อโรค สิ่งเหล่านี้ส่งผลร้ายกลับมายังประชาชนในชุมชน ทั้งทางตรงและทางอ้อม ทำให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพของประชาชนในชุมชน ทำให้มีภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพเพิ่มมากขึ้น ประสิทธิภาพในการประกอบอาชีพลดลง
ชุมชนรัตนกิจเทศบาลเมืองเบตง ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการคัดแยกและรวบรวมขยะอันตรายในชุมชน จึงได้จัดทำโครงการการคัดแยกและรวบรวมขยะอันตราย เพื่อสุขภาพที่ดีของคนเบตง ประจำปีงบประมาณ 2568 เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกและรวบรวมขยะอันตรายอย่างถูกต้องและปลอดภัยเพื่อรอการรวบรวมไปกำจัดอย่างถูกหลักสุขาภิบาล อนึ่งการดำเนินการดังกล่าวจะส่งผลให้ประชาชนปลอดภัยจากสารปนเปื้อนที่มาจากขยะอันตรายต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนและเยาวชน มีความรู้ถึงผลกระทบจากขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายและสิ่งแวดล้อมในชุมชน
- เพื่อให้ประชาชนและเยาวชน มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยและขยะอันตรายในชุมชนโดยเริ่มต้นที่ครัวเรือน
- เพื่อส่งเสริมให้มีการคัดแยกและกำจัดขยะอันตรายในครัวเรือนและชุมชน อย่างเหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1. จัดกิจกรรมฝึกอบรมเพิ่มความรู้ด้านการจัดการ และการกำจัดขยะอันตรายในชุมชน
- กิจกรรมที่ 2 จัดกิจกรรมรณรงค์เคาะประตูบ้าน รวบรวมขยะอันตรายโดยการสร้างแรงจูงใจ พร้อมทั้งติดตั้งตู้รองรับขยะอันตราย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการคัดแยกขยะอันตรายออกจากขยะประเภทอื่น ที่ก่อให้เกิดมลภาวะเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม
- ประชาชนในชุมชนมีการคัดแยกและรวบรวมขยะอันตรายออกจากมูลฝอยทั่วไปก่อนนำไปแยกกำจัดอย่างถูกวิธี
- ประชาชนในชุมชนมีถังขยะอันตรายและขยะติดเชื้อไว้รองรับขยะในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมที่ 1. จัดกิจกรรมฝึกอบรมเพิ่มความรู้ด้านการจัดการ และการกำจัดขยะอันตรายในชุมชน
วันที่ 29 มีนาคม 2568 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.เสนอโครงการเพื่ออนุมัติตามวาระการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ
2.ประสานงานกับผู้นำชุมชนและประชาชนในชุมชน เพื่อรับทราบแนวการดำเนินงานในครั้งนี้
3.ประสานวิทยากรและสถานที่ฝึกอบรม
4.จัดกิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้ด้านการกำจัดขยะอันตรายและขยะติดเชื้อ สารพิษที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
-ฝึกอบรมเพิ่มความรู้ด้านการจัดการจัดการ และการกำจัดขยะอันตรายในชุมชน
-เคาะประตูรณรงค์คัดแยกขยะอันตรายิและติดตั้งจุดรับขยะอันตรายประจำชุมชน
-จัดกิจกรรมรณรงค์ขยะอันตรายแลกไข่และสิ่งของ (สร้างแรงจูงใจในการคัดแยกขยะอันตราย)
5.ประเมินผลการจัดทำตู้ขยะอันตรายแจกจ่ายให้กับชุมชน
-จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
-จากผลการทดสอบความรู้ก่อน-หลังอบรม
-ปริมาณขยะอันตรายที่รวบรวมในชุมชน
6.สรุปผลโครงการและรายงานผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การอบรมตามโครงการคัดแยกและราบรวมขยะอันตราย เพื่อสุขภาพที่ดีของคนเบตง ได้จัดขึ้นในวันที่ 29 มีนาคม 2568 เวลา 08.00 - 16.30 น. ณ ที่ทำการชุมชนรัตนกิจ โดยมีกลุ่มเป้าหมายจำนวน 30 คน เข้าร่วมอบรม คิดเป็นร้อยละร้อย มีกิจกรรมดังนี้
1. อบรมให้ความรู้ด้านการจัดการ และการกำจัดขยะในชุมชน และให้ความรู้เกี่ยวกับประเภท โทษและพิษภัย จากขยะอันตรายที่จะส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
2. จัดทำตู้เหล็กเพื่อรองรับขยะอันตรายไว้ในชุมชน โดยจัดตั้งไว้ ณ ที่ทำการชุมชนรัตนกิจ และได้มีการประชาสัมพันธ์ เดินรณรงค์เคาะประตูบ้าน ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายให้ประชาชนในชุมชนได้คัดแยกขยะอันตราย ได้ถูกต้องตามประเภทที่คัดแยกไว้แล้ว โดยให้นำขยะอันตรายมาแลกไข่ ประชาชนในชุมชนมีความสนใจ
0
0
2. กิจกรรมที่ 2 จัดกิจกรรมรณรงค์เคาะประตูบ้าน รวบรวมขยะอันตรายโดยการสร้างแรงจูงใจ พร้อมทั้งติดตั้งตู้รองรับขยะอันตราย
วันที่ 29 มีนาคม 2568 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.เสนอโครงการเพื่ออนุมัติตามวาระการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ
2.ประสานงานกับผู้นำชุมชนและประชาชนในชุมชน เพื่อรับทราบแนวการดำเนินงานในครั้งนี้
3.ประสานวิทยากรและสถานที่ฝึกอบรม
4.จัดกิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้ด้านการกำจัดขยะอันตรายและขยะติดเชื้อ สารพิษที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
-ฝึกอบรมเพิ่มความรู้ด้านการจัดการจัดการ และการกำจัดขยะอันตรายในชุมชน
-เคาะประตูรณรงค์คัดแยกขยะอันตรายิและติดตั้งจุดรับขยะอันตรายประจำชุมชน
-จัดกิจกรรมรณรงค์ขยะอันตรายแลกไข่และสิ่งของ (สร้างแรงจูงใจในการคัดแยกขยะอันตราย)
5.ประเมินผลการจัดทำตู้ขยะอันตรายแจกจ่ายให้กับชุมชน
-จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
-จากผลการทดสอบความรู้ก่อน-หลังอบรม
-ปริมาณขยะอันตรายที่รวบรวมในชุมชน
6.สรุปผลโครงการและรายงานผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การอบรมตามโครงการคัดแยกและราบรวมขยะอันตราย เพื่อสุขภาพที่ดีของคนเบตง ได้จัดขึ้นในวันที่ 29 มีนาคม 2568 เวลา 08.00 - 16.30 น. ณ ที่ทำการชุมชนรัตนกิจ โดยมีกลุ่มเป้าหมายจำนวน 30 คน เข้าร่วมอบรม คิดเป็นร้อยละร้อย มีกิจกรรมดังนี้
1. อบรมให้ความรู้ด้านการจัดการ และการกำจัดขยะในชุมชน และให้ความรู้เกี่ยวกับประเภท โทษและพิษภัย จากขยะอันตรายที่จะส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
2. จัดทำตู้เหล็กเพื่อรองรับขยะอันตรายไว้ในชุมชน โดยจัดตั้งไว้ ณ ที่ทำการชุมชนรัตนกิจ และได้มีการประชาสัมพันธ์ เดินรณรงค์เคาะประตูบ้าน ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายให้ประชาชนในชุมชนได้คัดแยกขยะอันตราย ได้ถูกต้องตามประเภทที่คัดแยกไว้แล้ว โดยให้นำขยะอันตรายมาแลกไข่ ประชาชนในชุมชนมีความสนใจ
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาชนและเยาวชน มีความรู้ถึงผลกระทบจากขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายและสิ่งแวดล้อมในชุมชน
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อให้ประชาชนและเยาวชน มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยและขยะอันตรายในชุมชนโดยเริ่มต้นที่ครัวเรือน
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อส่งเสริมให้มีการคัดแยกและกำจัดขยะอันตรายในครัวเรือนและชุมชน อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
31
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
30
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนและเยาวชน มีความรู้ถึงผลกระทบจากขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายและสิ่งแวดล้อมในชุมชน (2) เพื่อให้ประชาชนและเยาวชน มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยและขยะอันตรายในชุมชนโดยเริ่มต้นที่ครัวเรือน (3) เพื่อส่งเสริมให้มีการคัดแยกและกำจัดขยะอันตรายในครัวเรือนและชุมชน อย่างเหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1. จัดกิจกรรมฝึกอบรมเพิ่มความรู้ด้านการจัดการ และการกำจัดขยะอันตรายในชุมชน (2) กิจกรรมที่ 2 จัดกิจกรรมรณรงค์เคาะประตูบ้าน รวบรวมขยะอันตรายโดยการสร้างแรงจูงใจ พร้อมทั้งติดตั้งตู้รองรับขยะอันตราย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ คัดแยกและรวบรวมขยะอันตราย เพื่อสุขภาพที่ดีของคนเบตง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L7161-2-4
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางอารีย์ แซ่หลี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ คัดแยกและรวบรวมขยะอันตราย เพื่อสุขภาพที่ดีของคนเบตง ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางอารีย์ แซ่หลี
เมษายน 2568
ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L7161-2-4 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 เมษายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ คัดแยกและรวบรวมขยะอันตราย เพื่อสุขภาพที่ดีของคนเบตง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ คัดแยกและรวบรวมขยะอันตราย เพื่อสุขภาพที่ดีของคนเบตง ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ คัดแยกและรวบรวมขยะอันตราย เพื่อสุขภาพที่ดีของคนเบตง ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2568-L7161-2-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 เมษายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,610.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันประเทศไทยเผชิญปัญหามลพิษ จากการจัดการของเสียอันตราย หรือ ขยะพิษ ไม่ได้มาตรฐานโดยพบว่า มือถือเก่า โน้ตบุ๊ก แล็ปท็อป ทีวีเก่า ตู้เย็น เครื่องปรับอากาศ ถูกทิ้งปะปนกับขยะมูลฝอยทั่วไปและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี ขณะที่ซากชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้าโดนถอดแยกชิ้นส่วนแล้วเผาทำลาย เทกอง ส่งผลกระทบต่อคุณภาพอากาศ คุณภาพน้ำ สารเคมีอันตรายปนเปื้อนอยู่ในสิ่งแวดล้อม องค์ประกอบทางเคมีทั้งปรอท ตะกั่ว หรือโลหะหนัก ล้วนเป็นสารก่อมะเร็งเพิ่มความเสี่ยงต่อสุขภาพของประชาชนมากยิ่งขึ้น ข้อมูลจากรายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย โดยกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทส.) ระบุว่าของเสียอันตรายจากชุมชนเกิดขึ้น 638,000 ตันต่อปี โดยเป็นซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์414,600 ตันต่อปี หรือร้อยละ 65 อีก 223,400 ตัน หรือร้อยละ 35 เป็นของเสียอันตรายประเภทอื่นๆ เช่น แบตเตอรี่ ถ่าน ไฟฉาย ภาชนะบรรจุสารเคมี กระป๋องสเปรย์ของเสียอันตรายเหล่านี้ได้รับการจัดการอย่างถูกต้องเพิ่มขึ้นเพียง 83,600 ตัน หรือร้อยละ 13 เท่านั้น ซึ่งในรายงานมลพิษฉบับล่าสุดนี้ ได้ระบุการจัดการยังไม่เพียงพอ ขาดกฎระเบียบที่จะคัดแยกของเสียอันตรายจากขยะทั่วไป และประเทศไทยยังไม่มีกฎหมายกำกับดูแล ในการให้ภาคเอกชนรับผิดชอบในการจัดการซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ จากปัญหาภาวะมลพิษที่เกิดจากขยะที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ความเดือดร้อนและสุขภาพอนามัยของประชาชนอย่างต่อเนื่อง
เทศบาลเมืองเบตงมีการรวบรวมขยะอันตรายเพื่อนำส่งไปยังองค์การบริหารส่วนจังหวัดยะลา โดยในปีงบประมาณ 2567 เทศบาลเมืองเบตงได้รวบรวมขยะอันตรายจากชุมชนได้ประมาณ 2,370 กิโลกรัม โดยยังพบมีขยะอันตรายที่เข้าสู่ระบบฝังกลบขยะ แสดงให้เห็นว่ายังมีขยะอันตรายบางส่วนไม่ได้รับการคัดแยกและรวบรวม ซึ่งสถานการณ์ดังกล่าวอาจก่อให้เกิดการปนเปื้อนของสารพิษของขยะอันตรายลงสู่สิ่งแวดล้อมที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพประชาชนชาวเบตงได้ และจากการสำรวจข้อมูลในชุมชนรัตนกิจเทศบาลเมืองเบตง พบว่าประชาชนส่วนใหญ่ในชุมชนได้ทิ้งขยะอันตรายรวมกับขยะมูลฝอยทั่วไป โดยไม่มีการแยกขยะอันตรายทิ้งต่างหากอย่างไม่ถูกวิธีทำให้เกิดปัญหามลพิษทางอากาศ การปนเปื้อนต่อสิ่งแวดล้อม การแพร่กระจายของเชื้อโรค สิ่งเหล่านี้ส่งผลร้ายกลับมายังประชาชนในชุมชน ทั้งทางตรงและทางอ้อม ทำให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพของประชาชนในชุมชน ทำให้มีภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพเพิ่มมากขึ้น ประสิทธิภาพในการประกอบอาชีพลดลง
ชุมชนรัตนกิจเทศบาลเมืองเบตง ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการคัดแยกและรวบรวมขยะอันตรายในชุมชน จึงได้จัดทำโครงการการคัดแยกและรวบรวมขยะอันตราย เพื่อสุขภาพที่ดีของคนเบตง ประจำปีงบประมาณ 2568 เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกและรวบรวมขยะอันตรายอย่างถูกต้องและปลอดภัยเพื่อรอการรวบรวมไปกำจัดอย่างถูกหลักสุขาภิบาล อนึ่งการดำเนินการดังกล่าวจะส่งผลให้ประชาชนปลอดภัยจากสารปนเปื้อนที่มาจากขยะอันตรายต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนและเยาวชน มีความรู้ถึงผลกระทบจากขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายและสิ่งแวดล้อมในชุมชน
- เพื่อให้ประชาชนและเยาวชน มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยและขยะอันตรายในชุมชนโดยเริ่มต้นที่ครัวเรือน
- เพื่อส่งเสริมให้มีการคัดแยกและกำจัดขยะอันตรายในครัวเรือนและชุมชน อย่างเหมาะสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1. จัดกิจกรรมฝึกอบรมเพิ่มความรู้ด้านการจัดการ และการกำจัดขยะอันตรายในชุมชน
- กิจกรรมที่ 2 จัดกิจกรรมรณรงค์เคาะประตูบ้าน รวบรวมขยะอันตรายโดยการสร้างแรงจูงใจ พร้อมทั้งติดตั้งตู้รองรับขยะอันตราย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 30 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการคัดแยกขยะอันตรายออกจากขยะประเภทอื่น ที่ก่อให้เกิดมลภาวะเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม
- ประชาชนในชุมชนมีการคัดแยกและรวบรวมขยะอันตรายออกจากมูลฝอยทั่วไปก่อนนำไปแยกกำจัดอย่างถูกวิธี
- ประชาชนในชุมชนมีถังขยะอันตรายและขยะติดเชื้อไว้รองรับขยะในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมที่ 1. จัดกิจกรรมฝึกอบรมเพิ่มความรู้ด้านการจัดการ และการกำจัดขยะอันตรายในชุมชน |
||
วันที่ 29 มีนาคม 2568 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.เสนอโครงการเพื่ออนุมัติตามวาระการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ 2.ประสานงานกับผู้นำชุมชนและประชาชนในชุมชน เพื่อรับทราบแนวการดำเนินงานในครั้งนี้ 3.ประสานวิทยากรและสถานที่ฝึกอบรม 4.จัดกิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้ด้านการกำจัดขยะอันตรายและขยะติดเชื้อ สารพิษที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ -ฝึกอบรมเพิ่มความรู้ด้านการจัดการจัดการ และการกำจัดขยะอันตรายในชุมชน -เคาะประตูรณรงค์คัดแยกขยะอันตรายิและติดตั้งจุดรับขยะอันตรายประจำชุมชน -จัดกิจกรรมรณรงค์ขยะอันตรายแลกไข่และสิ่งของ (สร้างแรงจูงใจในการคัดแยกขยะอันตราย) 5.ประเมินผลการจัดทำตู้ขยะอันตรายแจกจ่ายให้กับชุมชน -จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ -จากผลการทดสอบความรู้ก่อน-หลังอบรม -ปริมาณขยะอันตรายที่รวบรวมในชุมชน 6.สรุปผลโครงการและรายงานผลการดำเนินงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการอบรมตามโครงการคัดแยกและราบรวมขยะอันตราย เพื่อสุขภาพที่ดีของคนเบตง ได้จัดขึ้นในวันที่ 29 มีนาคม 2568 เวลา 08.00 - 16.30 น. ณ ที่ทำการชุมชนรัตนกิจ โดยมีกลุ่มเป้าหมายจำนวน 30 คน เข้าร่วมอบรม คิดเป็นร้อยละร้อย มีกิจกรรมดังนี้ 1. อบรมให้ความรู้ด้านการจัดการ และการกำจัดขยะในชุมชน และให้ความรู้เกี่ยวกับประเภท โทษและพิษภัย จากขยะอันตรายที่จะส่งผลกระทบต่อสุขภาพ 2. จัดทำตู้เหล็กเพื่อรองรับขยะอันตรายไว้ในชุมชน โดยจัดตั้งไว้ ณ ที่ทำการชุมชนรัตนกิจ และได้มีการประชาสัมพันธ์ เดินรณรงค์เคาะประตูบ้าน ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายให้ประชาชนในชุมชนได้คัดแยกขยะอันตราย ได้ถูกต้องตามประเภทที่คัดแยกไว้แล้ว โดยให้นำขยะอันตรายมาแลกไข่ ประชาชนในชุมชนมีความสนใจ
|
0 | 0 |
2. กิจกรรมที่ 2 จัดกิจกรรมรณรงค์เคาะประตูบ้าน รวบรวมขยะอันตรายโดยการสร้างแรงจูงใจ พร้อมทั้งติดตั้งตู้รองรับขยะอันตราย |
||
วันที่ 29 มีนาคม 2568 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.เสนอโครงการเพื่ออนุมัติตามวาระการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ 2.ประสานงานกับผู้นำชุมชนและประชาชนในชุมชน เพื่อรับทราบแนวการดำเนินงานในครั้งนี้ 3.ประสานวิทยากรและสถานที่ฝึกอบรม 4.จัดกิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้ด้านการกำจัดขยะอันตรายและขยะติดเชื้อ สารพิษที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ -ฝึกอบรมเพิ่มความรู้ด้านการจัดการจัดการ และการกำจัดขยะอันตรายในชุมชน -เคาะประตูรณรงค์คัดแยกขยะอันตรายิและติดตั้งจุดรับขยะอันตรายประจำชุมชน -จัดกิจกรรมรณรงค์ขยะอันตรายแลกไข่และสิ่งของ (สร้างแรงจูงใจในการคัดแยกขยะอันตราย) 5.ประเมินผลการจัดทำตู้ขยะอันตรายแจกจ่ายให้กับชุมชน -จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ -จากผลการทดสอบความรู้ก่อน-หลังอบรม -ปริมาณขยะอันตรายที่รวบรวมในชุมชน 6.สรุปผลโครงการและรายงานผลการดำเนินงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการอบรมตามโครงการคัดแยกและราบรวมขยะอันตราย เพื่อสุขภาพที่ดีของคนเบตง ได้จัดขึ้นในวันที่ 29 มีนาคม 2568 เวลา 08.00 - 16.30 น. ณ ที่ทำการชุมชนรัตนกิจ โดยมีกลุ่มเป้าหมายจำนวน 30 คน เข้าร่วมอบรม คิดเป็นร้อยละร้อย มีกิจกรรมดังนี้ 1. อบรมให้ความรู้ด้านการจัดการ และการกำจัดขยะในชุมชน และให้ความรู้เกี่ยวกับประเภท โทษและพิษภัย จากขยะอันตรายที่จะส่งผลกระทบต่อสุขภาพ 2. จัดทำตู้เหล็กเพื่อรองรับขยะอันตรายไว้ในชุมชน โดยจัดตั้งไว้ ณ ที่ทำการชุมชนรัตนกิจ และได้มีการประชาสัมพันธ์ เดินรณรงค์เคาะประตูบ้าน ประชาสัมพันธ์เสียงตามสายให้ประชาชนในชุมชนได้คัดแยกขยะอันตราย ได้ถูกต้องตามประเภทที่คัดแยกไว้แล้ว โดยให้นำขยะอันตรายมาแลกไข่ ประชาชนในชุมชนมีความสนใจ
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนและเยาวชน มีความรู้ถึงผลกระทบจากขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายและสิ่งแวดล้อมในชุมชน ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อให้ประชาชนและเยาวชน มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยและขยะอันตรายในชุมชนโดยเริ่มต้นที่ครัวเรือน ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อส่งเสริมให้มีการคัดแยกและกำจัดขยะอันตรายในครัวเรือนและชุมชน อย่างเหมาะสม ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 31 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 30 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนและเยาวชน มีความรู้ถึงผลกระทบจากขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายและสิ่งแวดล้อมในชุมชน (2) เพื่อให้ประชาชนและเยาวชน มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยและขยะอันตรายในชุมชนโดยเริ่มต้นที่ครัวเรือน (3) เพื่อส่งเสริมให้มีการคัดแยกและกำจัดขยะอันตรายในครัวเรือนและชุมชน อย่างเหมาะสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1. จัดกิจกรรมฝึกอบรมเพิ่มความรู้ด้านการจัดการ และการกำจัดขยะอันตรายในชุมชน (2) กิจกรรมที่ 2 จัดกิจกรรมรณรงค์เคาะประตูบ้าน รวบรวมขยะอันตรายโดยการสร้างแรงจูงใจ พร้อมทั้งติดตั้งตู้รองรับขยะอันตราย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ คัดแยกและรวบรวมขยะอันตราย เพื่อสุขภาพที่ดีของคนเบตง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L7161-2-4
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางอารีย์ แซ่หลี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......