โครงการชุมชนร่วมใจ ปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568
ชื่อโครงการ | โครงการชุมชนร่วมใจ ปลูกผักปลอดสารพิษในครัวเรือน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L2971-2-11 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมมุสลิมคนรักษ์สุขภาพตำบลกะรุบี |
วันที่อนุมัติ | 24 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มิถุนายน 2568 - 30 มิถุนายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 11,390.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายมะตอฮา เปาะแต |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 15 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาสุขภาพของประชาชนคนไทยเพิ่มทวีขึ้น เห็นได้จากสถิติของผู้ป่วยที่มารับบริหารรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลมีจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ และอัตราการป่วยจากโรคไม่ติดต่อ เพิ่มสูงขึ้น โรงพยาบาลจึงต้องเพิ่มขนาดของโรงพยาบาล เพื่อรองรับผู้ที่มารับบริการ ซึ่งเป็นภาระที่รัฐบาลจะต้องเสียงบประมาณในการดำเนินการเป็นอย่างมาก และเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ เนื่องจากต้นเหตุของปัญหาสุขภาพที่สำคัญมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ อาหารที่มีการปลอมปนสารเคมี หรือ ผัก-ผลไม้ ที่ไม่ปลอดสารพิษเพราะเกษตรกรผู้ผลิตใช้สารกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกวิธี เพื่อเหตุผลการค้า และพาณิชย์ ทำให้สารเคมีที่เป็นโทษเหล่านั้นตกอยู่กับผู้บริโภคอย่างยากที่จะหลีกเลี่ยง แนวทางในการป้องกันปัญหาที่เป็นการแก้ที่ต้นเหตุแบบยั่งยืน คือการให้สุขศึกษาแก่ประชาชน และการส่งเสริมการปลูกผักเพื่อบริโภคในครัวเรือน หากปลูกผักรับประทานเองแบบผักอินทรีย์ก็เป็นหนทางหนึ่งที่จะช่วยให้ผู้บริโภคได้รับสารอาหารที่ดี มีประโยชน์อย่างแท้จริง แต่กระนั้นสำหรับประชาชนที่ไม่เคยปลูกผักเลยก็เป็นปัญหาใหญ่ในการเริ่มต้นที่จะเรียนรู้การปลูกผักด้วยตนเอง ดังนั้นทางกลุ่มเกษตรตำบลดอนรัก ได้ตระหนักในปัญหานี้ จึงได้จัดโครงการปลูกผักสวนครัว ปลอดสารพิษขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ และการทำปุ๋ยหมักจากเศษอาหารที่เหลือใช้ในครัวเรือน ร้อยละ 98 หลังจากอบรมประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษและการทำปุ๋ยหมักจากเศษอาหารที่เหลือใช้ในครัวเรือน |
1.00 | 2.00 |
2 | เพื่อให้ประชนชนได้ตระหนักถึงอันตรายของสารเคมีและสารกำจัดศัตรู ที่ตกค้างในผลผลิตทางการเกษตร ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 98 ที่ผ่านการอบรมได้ตระหนักถึงอันตรายของสารเคมีและสารกำจัดศัตรู ที่ตกค้างในผลผลิตทางการเกษตร ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม |
1.00 | 2.00 |
3 | เพื่อให้ประชาชนมีสถานที่จำหน่ายผักปลอดสารที่เหลือจาการบริโภคและเป็นการเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือน ชุมชนมีร้านค้าพืชผักปลอดสารพิษ ( GREEN Market) อย่างน้อย 1 แห่ง |
1.00 | 2.00 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
1 - 30 มิ.ย. 68 | อบรมเชิงปฏิบัติการการปลูกผักปลอดสารพิษ | 0 | 9,700.00 | - | ||
รวม | 0 | 9,700.00 | 0 | 0.00 |
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 ม.ค. 2568 00:00 น.