โครงการอบรม อสม.แกนนำวิทยศาสตร์การแพทย์ชุมชนและการสร้างระบบเฝ้าระวังและจัดการผลิตภัณฑ์สุขภาพเชิงรุกชุมชน ประจำปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรม อสม.แกนนำวิทยศาสตร์การแพทย์ชุมชนและการสร้างระบบเฝ้าระวังและจัดการผลิตภัณฑ์สุขภาพเชิงรุกชุมชน ประจำปี 2568 ”
ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางยุวดี ลื่อเท่ง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาวิเศษ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการอบรม อสม.แกนนำวิทยศาสตร์การแพทย์ชุมชนและการสร้างระบบเฝ้าระวังและจัดการผลิตภัณฑ์สุขภาพเชิงรุกชุมชน ประจำปี 2568
ที่อยู่ ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1516-01-08 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรม อสม.แกนนำวิทยศาสตร์การแพทย์ชุมชนและการสร้างระบบเฝ้าระวังและจัดการผลิตภัณฑ์สุขภาพเชิงรุกชุมชน ประจำปี 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาวิเศษ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรม อสม.แกนนำวิทยศาสตร์การแพทย์ชุมชนและการสร้างระบบเฝ้าระวังและจัดการผลิตภัณฑ์สุขภาพเชิงรุกชุมชน ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรม อสม.แกนนำวิทยศาสตร์การแพทย์ชุมชนและการสร้างระบบเฝ้าระวังและจัดการผลิตภัณฑ์สุขภาพเชิงรุกชุมชน ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1516-01-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,839.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาวิเศษ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันสถานการณ์การกระจายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่เหมาะสม และการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ถูกต้อง มีการเผยแพร่ในหลายพื้นที่โดยเฉพาะในร้านชำ พบว่ามีร้านชำบางร้านจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ถูกต้องและไม่ได้คุณภาพมาตรฐาน อาทิ มีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์อาหารที่ไม่มี อย. ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ อย.เคยตรวจ พบสารอันตรายและประกาศห้ามจำหน่าย ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางไม่มีเลขจดแจ้ง และการจำหน่ายยาที่ไม่ใช่ยาสามัญประจำบ้านในร้านชำ มากกว่า ร้อยละ 60 และจากการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค พบว่ากลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หรือโรคอื่นๆในชุมชน มีการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่อวดอ้างสรรพคุณเกินจริงในชุมชนเป็นจำนวนมาก ประชาชนอยู่ในฐานะผู้เสียเปรียบเพราะไม่อาจทราบถึงความจริงในเรื่องคุณภาพที่แท้จริงของผลิตภัณฑ์ที่ซื้อ ประกอบกับหลงเชื่อโฆษณาที่ผู้จำหน่ายอวดอ้าง ทำให้ส่งผลกระทบต่อสภาวะสุขภาพ จากการดำเนินงานโครงการร้านชำปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภคในปี 2567 ทีมคุ้มครองผู้บริโภค โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาวิเศษ ได้มีสุ่มตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร สารอันตรายในเครื่องสำอางค์ และสารสเตียรอยด์ในยาแผนโบราณ ในร้านชำ ตลาดนัด และผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีผู้นำมาส่งตรวจ พบว่า ร้อยละ 40 ยังการการปนเปื้อนสารอันตราย แต่เนื่องจากชุดทดสอบสารปนเปื้อนที่ได้รับสนับสนุนจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอมีจำนวนที่จำกัด ทำให้ไม่สามารถดำเนินการเฝ้าระวังได้ครอบคลุมทั้งพื้นที่ ทางโรงพยาบาลส่งเสริมตำบลเขาวิเศษ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อพัฒนาและถ่ายทอดความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคให้แก่ชุมชน มุ่งเน้นการเสริมสร้างศักยภาพชุมชนให้มีความเข้มแข็งสามารถบริหารจัดการงานคุ้มครองผู้บริโภคให้เกิดผลสัมฤทธิ์ และมีประสิทธิภาพภายใต้การดำเนินการ แบบมีส่วนร่วม โดยจัดตั้งศูนย์แจ้งเตือนภัย เฝ้าระวังและรับเรื่องร้องเรียนปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน การพัฒนาและการส่งเสริมอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน ให้มีความสามารถในการดำเนินงานการแพทย์ชุมชน ซึ่งการดำเนินงานโครงการนี้ เป็นการดำเนินงานต่อยอด และขยายผลจากการปฎิบัติงานปกติของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาวิเศษ เพื่อให้เกิดการบูรณาการรวมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับชุมชน เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปอย่างยั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างทีมงานอสม.นักวิทยาศาสตร์ชุมชนสำหรับตรวจสอบและแจ้งเตือนภัยผลิตภัณฑ์ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
- เพื่อพัฒนาศักยภาพให้ อสม.มีความรู้และสามารถให้คำแนะนำแก่ร้านชำได้
- เพื่อจัดตั้งศูนย์เตือนภัยสุขภาพในตำบลในการรับเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการบริโภคอาหารยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
- เพื่อสร้างทีมงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- มีการจัดตั้งศูนย์แจ้งเตือนภัยสุขภาพ กรมวิทย์ with you ในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาวิเศษและผ่านเกณฑ์ศูนย์แจ้งเตือนภัยในระดับดีขึ้นไป
2. ประชาชนผู้บริโภคได้รับการคุ้มครองสิทธิด้านความปลอดภัยในการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ
3. เพื่อให้ประชาชนมีความปลอดภัยในการผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน
4. เพื่อเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อสร้างทีมงานอสม.นักวิทยาศาสตร์ชุมชนสำหรับตรวจสอบและแจ้งเตือนภัยผลิตภัณฑ์ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อพัฒนาศักยภาพให้ อสม.มีความรู้และสามารถให้คำแนะนำแก่ร้านชำได้
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อจัดตั้งศูนย์เตือนภัยสุขภาพในตำบลในการรับเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการบริโภคอาหารยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ตัวชี้วัด :
4
เพื่อสร้างทีมงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างทีมงานอสม.นักวิทยาศาสตร์ชุมชนสำหรับตรวจสอบและแจ้งเตือนภัยผลิตภัณฑ์ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพให้ อสม.มีความรู้และสามารถให้คำแนะนำแก่ร้านชำได้ (3) เพื่อจัดตั้งศูนย์เตือนภัยสุขภาพในตำบลในการรับเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการบริโภคอาหารยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ (4) เพื่อสร้างทีมงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรม อสม.แกนนำวิทยศาสตร์การแพทย์ชุมชนและการสร้างระบบเฝ้าระวังและจัดการผลิตภัณฑ์สุขภาพเชิงรุกชุมชน ประจำปี 2568 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1516-01-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางยุวดี ลื่อเท่ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรม อสม.แกนนำวิทยศาสตร์การแพทย์ชุมชนและการสร้างระบบเฝ้าระวังและจัดการผลิตภัณฑ์สุขภาพเชิงรุกชุมชน ประจำปี 2568 ”
ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางยุวดี ลื่อเท่ง
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1516-01-08 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรม อสม.แกนนำวิทยศาสตร์การแพทย์ชุมชนและการสร้างระบบเฝ้าระวังและจัดการผลิตภัณฑ์สุขภาพเชิงรุกชุมชน ประจำปี 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาวิเศษ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรม อสม.แกนนำวิทยศาสตร์การแพทย์ชุมชนและการสร้างระบบเฝ้าระวังและจัดการผลิตภัณฑ์สุขภาพเชิงรุกชุมชน ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรม อสม.แกนนำวิทยศาสตร์การแพทย์ชุมชนและการสร้างระบบเฝ้าระวังและจัดการผลิตภัณฑ์สุขภาพเชิงรุกชุมชน ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1516-01-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,839.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาวิเศษ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันสถานการณ์การกระจายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่เหมาะสม และการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ถูกต้อง มีการเผยแพร่ในหลายพื้นที่โดยเฉพาะในร้านชำ พบว่ามีร้านชำบางร้านจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ถูกต้องและไม่ได้คุณภาพมาตรฐาน อาทิ มีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์อาหารที่ไม่มี อย. ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ อย.เคยตรวจ พบสารอันตรายและประกาศห้ามจำหน่าย ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางไม่มีเลขจดแจ้ง และการจำหน่ายยาที่ไม่ใช่ยาสามัญประจำบ้านในร้านชำ มากกว่า ร้อยละ 60 และจากการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค พบว่ากลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หรือโรคอื่นๆในชุมชน มีการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่อวดอ้างสรรพคุณเกินจริงในชุมชนเป็นจำนวนมาก ประชาชนอยู่ในฐานะผู้เสียเปรียบเพราะไม่อาจทราบถึงความจริงในเรื่องคุณภาพที่แท้จริงของผลิตภัณฑ์ที่ซื้อ ประกอบกับหลงเชื่อโฆษณาที่ผู้จำหน่ายอวดอ้าง ทำให้ส่งผลกระทบต่อสภาวะสุขภาพ จากการดำเนินงานโครงการร้านชำปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภคในปี 2567 ทีมคุ้มครองผู้บริโภค โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาวิเศษ ได้มีสุ่มตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร สารอันตรายในเครื่องสำอางค์ และสารสเตียรอยด์ในยาแผนโบราณ ในร้านชำ ตลาดนัด และผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีผู้นำมาส่งตรวจ พบว่า ร้อยละ 40 ยังการการปนเปื้อนสารอันตราย แต่เนื่องจากชุดทดสอบสารปนเปื้อนที่ได้รับสนับสนุนจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอมีจำนวนที่จำกัด ทำให้ไม่สามารถดำเนินการเฝ้าระวังได้ครอบคลุมทั้งพื้นที่ ทางโรงพยาบาลส่งเสริมตำบลเขาวิเศษ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อพัฒนาและถ่ายทอดความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคให้แก่ชุมชน มุ่งเน้นการเสริมสร้างศักยภาพชุมชนให้มีความเข้มแข็งสามารถบริหารจัดการงานคุ้มครองผู้บริโภคให้เกิดผลสัมฤทธิ์ และมีประสิทธิภาพภายใต้การดำเนินการ แบบมีส่วนร่วม โดยจัดตั้งศูนย์แจ้งเตือนภัย เฝ้าระวังและรับเรื่องร้องเรียนปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน การพัฒนาและการส่งเสริมอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน ให้มีความสามารถในการดำเนินงานการแพทย์ชุมชน ซึ่งการดำเนินงานโครงการนี้ เป็นการดำเนินงานต่อยอด และขยายผลจากการปฎิบัติงานปกติของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาวิเศษ เพื่อให้เกิดการบูรณาการรวมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับชุมชน เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปอย่างยั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างทีมงานอสม.นักวิทยาศาสตร์ชุมชนสำหรับตรวจสอบและแจ้งเตือนภัยผลิตภัณฑ์ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
- เพื่อพัฒนาศักยภาพให้ อสม.มีความรู้และสามารถให้คำแนะนำแก่ร้านชำได้
- เพื่อจัดตั้งศูนย์เตือนภัยสุขภาพในตำบลในการรับเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการบริโภคอาหารยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
- เพื่อสร้างทีมงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- มีการจัดตั้งศูนย์แจ้งเตือนภัยสุขภาพ กรมวิทย์ with you ในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาวิเศษและผ่านเกณฑ์ศูนย์แจ้งเตือนภัยในระดับดีขึ้นไป
2. ประชาชนผู้บริโภคได้รับการคุ้มครองสิทธิด้านความปลอดภัยในการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ
3. เพื่อให้ประชาชนมีความปลอดภัยในการผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน
4. เพื่อเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างทีมงานอสม.นักวิทยาศาสตร์ชุมชนสำหรับตรวจสอบและแจ้งเตือนภัยผลิตภัณฑ์ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อพัฒนาศักยภาพให้ อสม.มีความรู้และสามารถให้คำแนะนำแก่ร้านชำได้ ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อจัดตั้งศูนย์เตือนภัยสุขภาพในตำบลในการรับเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการบริโภคอาหารยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ตัวชี้วัด : |
|
|||
4 | เพื่อสร้างทีมงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างทีมงานอสม.นักวิทยาศาสตร์ชุมชนสำหรับตรวจสอบและแจ้งเตือนภัยผลิตภัณฑ์ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพให้ อสม.มีความรู้และสามารถให้คำแนะนำแก่ร้านชำได้ (3) เพื่อจัดตั้งศูนย์เตือนภัยสุขภาพในตำบลในการรับเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการบริโภคอาหารยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ (4) เพื่อสร้างทีมงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรม อสม.แกนนำวิทยศาสตร์การแพทย์ชุมชนและการสร้างระบบเฝ้าระวังและจัดการผลิตภัณฑ์สุขภาพเชิงรุกชุมชน ประจำปี 2568 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1516-01-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางยุวดี ลื่อเท่ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......