โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมควบคุมระดับน้ำตาล HbA1C เพื่อลดภาวะเสี่ยงโรคแทรกซ้อนเบาหวาน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมควบคุมระดับน้ำตาล HbA1C เพื่อลดภาวะเสี่ยงโรคแทรกซ้อนเบาหวาน ”
ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางยุวดี ลื่อเท่ง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาวิเศษ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมควบคุมระดับน้ำตาล HbA1C เพื่อลดภาวะเสี่ยงโรคแทรกซ้อนเบาหวาน
ที่อยู่ ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1516-01-09 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมควบคุมระดับน้ำตาล HbA1C เพื่อลดภาวะเสี่ยงโรคแทรกซ้อนเบาหวาน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาวิเศษ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมควบคุมระดับน้ำตาล HbA1C เพื่อลดภาวะเสี่ยงโรคแทรกซ้อนเบาหวาน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมควบคุมระดับน้ำตาล HbA1C เพื่อลดภาวะเสี่ยงโรคแทรกซ้อนเบาหวาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1516-01-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาวิเศษ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังเป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขที่สำคัญของโลก โดยอัตราความชุกของโรคเบาหวานในประเทศที่พัฒนาแล้ว มีอัตราเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 42 จากข้อมูลของสหพันธ์เบาหวานนานาชาติ สถานการณ์ของโรคไม่ติดต่อ โดยเฉพาะโรคเบาหวาน มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งยังเป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิต ก่อนวัยอันควร และเป็นภาระโรคของคนทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย ซึ่งพบว่าคนไทยเป็นโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงมากถึงประมาณ 14 ล้านคน ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่ มาจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ได้แก่ การกินหวาน มัน เค็ม กินผักผลไม้น้อย การมีกิจกรรมทางกายน้อย ภาวะเครียด การสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในปริมาณที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ มีภาวะอ้วน ระดับน้ำตาลและไขมันเพิ่มขึ้นอาจก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงตามมา
การที่ผู้ป่วยเบาหวาน ไม่สามารถควบคุมน้ำตาลได้ ย่อมส่งผลให้เกิดโรคแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า หลอดเลือดหัวใจ หลอดเลือดสมองเพิ่มขึ้น จากข้อมูล HDC ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2565-2567 พบว่า อำเภอวังวิเศษมีผู้ป่วยเบาหวาน ที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้อย่างเหมาะสม คือ มีค่า HbA1C น้อยกว่า 7% เพียงร้อยละ 28.41, 32.62 และ 49.94 ตามลำดับ การที่ผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ จะทำให้ผู้ป่วยเพิ่มการเป็นโรคแทรกซ้อนต่างๆ ที่กล่าวมามากขึ้น ซึ่งในปี 2567 จากข้อมูล HDC อำเภอวังวิเศษพบผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังรายใหม่ร้อยละ 17.2 และคลังข้อมูลโรคไม่ติดต่อ พบผู้ป่วยเบาหวานที่เป็น Nephropathy ร้อยละ 33.09 และเบาหวานที่เป็น Retinopathy ร้อยละ 2.76 ในส่วนของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาวิเศษพบว่าผู้ป่วยเบาหวานที่มีค่า HbA1C น้อยกว่า ๗% ร้อยละ 44.78 ซึ่งจะเห็นได้ว่าถ้าผู้ป่วยเบาหวานไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ ผู้ป่วยจะมีโรคประจำตัวเพิ่มขึ้น ส่งผลให้เกิดการรักษาที่ยุ่งยาก และซับช้อนมากขึ้น รวมถึงต้องเพิ่มภาระค่าใช้จ่ายเพื่อการรักษาที่สูงขึ้น ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและผู้ดูแล ทางคลินิกเบาหวานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาวิเศษ จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมควบคุมระดับน้ำตาล HbA1C เพื่อลดภาวะเสี่ยงโรคแทรกซ้อนเบาหวาน ปีงบประมาณ 2568 ขึ้น เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้ มีความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เป็นปัญหาการดูแลตนเอง และทางคลินิกโรคเบาหวานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาวิเศษ จะได้ติดตามดูแลเฉพาะรายกรณี ในรายที่มีปัญหาเฉพาะด้าน ตามปัญหาของแต่ละคน โดยทีมสหสาขาโดยการติดตามเยี่ยมบ้าน ติดตามการดูแลตนเองเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 50 คน ได้รับความรู้ และตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลตนเองเพื่อควบคุมโรคเบาหวาน
- เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 50 คน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในทางที่ถูกต้องเหมาะสม
- เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า ในผู้ป่วยเบาหวาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ ความเข้าใจ และเกิดความตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลตนเอง
2. ผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถควบคุมระดับน้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์ควบคุมได้
3. สามารถป้องกัน/ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มาร่วมกิจกรรม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 50 คน ได้รับความรู้ และตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลตนเองเพื่อควบคุมโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องโรคและการดูแลตนเองเพื่อควบคุมโรคเบาหวาน 100%
2
เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 50 คน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในทางที่ถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 100%
3
เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า ในผู้ป่วยเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการป่วยด้วยโรคแทรกซ้อนเบาหวานรายใหม่ลดลง
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 50 คน ได้รับความรู้ และตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลตนเองเพื่อควบคุมโรคเบาหวาน (2) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 50 คน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในทางที่ถูกต้องเหมาะสม (3) เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า ในผู้ป่วยเบาหวาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมควบคุมระดับน้ำตาล HbA1C เพื่อลดภาวะเสี่ยงโรคแทรกซ้อนเบาหวาน จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1516-01-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางยุวดี ลื่อเท่ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมควบคุมระดับน้ำตาล HbA1C เพื่อลดภาวะเสี่ยงโรคแทรกซ้อนเบาหวาน ”
ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางยุวดี ลื่อเท่ง
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1516-01-09 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมควบคุมระดับน้ำตาล HbA1C เพื่อลดภาวะเสี่ยงโรคแทรกซ้อนเบาหวาน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาวิเศษ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมควบคุมระดับน้ำตาล HbA1C เพื่อลดภาวะเสี่ยงโรคแทรกซ้อนเบาหวาน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมควบคุมระดับน้ำตาล HbA1C เพื่อลดภาวะเสี่ยงโรคแทรกซ้อนเบาหวาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1516-01-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาวิเศษ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังเป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขที่สำคัญของโลก โดยอัตราความชุกของโรคเบาหวานในประเทศที่พัฒนาแล้ว มีอัตราเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 42 จากข้อมูลของสหพันธ์เบาหวานนานาชาติ สถานการณ์ของโรคไม่ติดต่อ โดยเฉพาะโรคเบาหวาน มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งยังเป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิต ก่อนวัยอันควร และเป็นภาระโรคของคนทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย ซึ่งพบว่าคนไทยเป็นโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงมากถึงประมาณ 14 ล้านคน ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่ มาจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ได้แก่ การกินหวาน มัน เค็ม กินผักผลไม้น้อย การมีกิจกรรมทางกายน้อย ภาวะเครียด การสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในปริมาณที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ มีภาวะอ้วน ระดับน้ำตาลและไขมันเพิ่มขึ้นอาจก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงตามมา
การที่ผู้ป่วยเบาหวาน ไม่สามารถควบคุมน้ำตาลได้ ย่อมส่งผลให้เกิดโรคแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า หลอดเลือดหัวใจ หลอดเลือดสมองเพิ่มขึ้น จากข้อมูล HDC ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2565-2567 พบว่า อำเภอวังวิเศษมีผู้ป่วยเบาหวาน ที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้อย่างเหมาะสม คือ มีค่า HbA1C น้อยกว่า 7% เพียงร้อยละ 28.41, 32.62 และ 49.94 ตามลำดับ การที่ผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ จะทำให้ผู้ป่วยเพิ่มการเป็นโรคแทรกซ้อนต่างๆ ที่กล่าวมามากขึ้น ซึ่งในปี 2567 จากข้อมูล HDC อำเภอวังวิเศษพบผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังรายใหม่ร้อยละ 17.2 และคลังข้อมูลโรคไม่ติดต่อ พบผู้ป่วยเบาหวานที่เป็น Nephropathy ร้อยละ 33.09 และเบาหวานที่เป็น Retinopathy ร้อยละ 2.76 ในส่วนของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาวิเศษพบว่าผู้ป่วยเบาหวานที่มีค่า HbA1C น้อยกว่า ๗% ร้อยละ 44.78 ซึ่งจะเห็นได้ว่าถ้าผู้ป่วยเบาหวานไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ ผู้ป่วยจะมีโรคประจำตัวเพิ่มขึ้น ส่งผลให้เกิดการรักษาที่ยุ่งยาก และซับช้อนมากขึ้น รวมถึงต้องเพิ่มภาระค่าใช้จ่ายเพื่อการรักษาที่สูงขึ้น ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและผู้ดูแล ทางคลินิกเบาหวานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาวิเศษ จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมควบคุมระดับน้ำตาล HbA1C เพื่อลดภาวะเสี่ยงโรคแทรกซ้อนเบาหวาน ปีงบประมาณ 2568 ขึ้น เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้ มีความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เป็นปัญหาการดูแลตนเอง และทางคลินิกโรคเบาหวานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาวิเศษ จะได้ติดตามดูแลเฉพาะรายกรณี ในรายที่มีปัญหาเฉพาะด้าน ตามปัญหาของแต่ละคน โดยทีมสหสาขาโดยการติดตามเยี่ยมบ้าน ติดตามการดูแลตนเองเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 50 คน ได้รับความรู้ และตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลตนเองเพื่อควบคุมโรคเบาหวาน
- เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 50 คน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในทางที่ถูกต้องเหมาะสม
- เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า ในผู้ป่วยเบาหวาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 50 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ ความเข้าใจ และเกิดความตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลตนเอง
2. ผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถควบคุมระดับน้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์ควบคุมได้
3. สามารถป้องกัน/ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มาร่วมกิจกรรม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 50 คน ได้รับความรู้ และตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลตนเองเพื่อควบคุมโรคเบาหวาน ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องโรคและการดูแลตนเองเพื่อควบคุมโรคเบาหวาน 100% |
|
|||
2 | เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 50 คน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในทางที่ถูกต้องเหมาะสม ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 100% |
|
|||
3 | เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า ในผู้ป่วยเบาหวาน ตัวชี้วัด : ร้อยละของการป่วยด้วยโรคแทรกซ้อนเบาหวานรายใหม่ลดลง |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 50 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 50 คน ได้รับความรู้ และตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลตนเองเพื่อควบคุมโรคเบาหวาน (2) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 50 คน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในทางที่ถูกต้องเหมาะสม (3) เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า ในผู้ป่วยเบาหวาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมควบคุมระดับน้ำตาล HbA1C เพื่อลดภาวะเสี่ยงโรคแทรกซ้อนเบาหวาน จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1516-01-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางยุวดี ลื่อเท่ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......