โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายและเล่นกีฬาในโรงเรียน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายและเล่นกีฬาในโรงเรียน ”
ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายสุริยัน ดำแก้ว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาวิเศษ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายและเล่นกีฬาในโรงเรียน
ที่อยู่ ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1516-02-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายและเล่นกีฬาในโรงเรียน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาวิเศษ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายและเล่นกีฬาในโรงเรียน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายและเล่นกีฬาในโรงเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1516-02-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,244.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาวิเศษ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบัน ปัญหาของการจัดการศึกษาของประเทศไทย เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศในกลุ่มอาเซียน จะเห็นได้ว่าประเทศเทศไทยจัดอยู่ในอันดับรั้งท้าย นอกจากปัญหาดังกล่าวแล้วยังพบปัญหาเกี่ยวกับนักเรียนที่มีปัญหาด้านการมีน้ำหนักตัวเกินเกณฑ์สำหรับนักเรียนที่เรียนในเขตเมือง และน้ำหนักตัวต่ำกว่าเกณฑ์สำหรับ นักเรียนที่เรียนในถิ่นทุรกันดาร ซึ่งปัญหาดังกล่าวกำลังเป็นภัยคุกคามที่จะส่งผลต่อสุขภาพและสมรรถภาพทางกายส่วนรวม อีกทั้งจะเป็นปัญหาที่เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งโดยธรรมชาติของเด็กในวัยเรียนระดับประถมศึกษา มีความต้องการที่จะเคลื่อนไหวร่างกายในรูปแบบต่าง ๆ อย่างน้อยเฉลี่ยวันละ 3-4 ชั่วโมง จึงทำให้เกิดการใช้พลังงานไม่สมดุลกับการรับประทานอาหารในแต่ละวันโดยเฉพาะอย่างยิ่งอาหารจานด่วนทั้งหลาย และปัญหาการขาดแคลนด้านทุพโภชนาการ กล่าวคือน้ำหนักตัวที่ต่ำกว่า หรือเกินเกณฑ์มาตรฐาน ส่งผลให้การเรียนการสอนทำได้ไม่เต็มที่ และขาดหลักโภชนาการ ขาดความสนใจเกี่ยวกับการออกกำลังกาย เนื่องจากปัญหาการขาดแคลนอุปกรณ์และเครื่องเล่นต่าง ๆ รวมทั้งสถานที่ที่เอื้อต่อการออกกำลังกายอย่างอิสระ ปัญหาการขาดการออกกำลังกาย นักเรียนจำนวนมากไม่เห็นความสำคัญของการออกกำลังกายจึงใช้ชีวิตประจำวันที่ไม่มีการเคลื่อนไหวร่างกาย เช่น การเล่นเกมคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน การนั่งดูโทรทัศน์ตลอดเวลา ทำให้ร่างกายไม่มีการเคลื่อนไหวออกกำลังกาย ซึ่งมีผลเสียต่อสุขภาพ ในระยะแรกอาจทำให้เป็นโรคอ้วน ขาดความคล่องตัว เซื่องซึม ขาดความกระตือรือร้น ไม่แจ่มใส ในระยะยาว การไม่ออกกำลังกายร่วมกับการบริโภคที่ไม่ดีจะทำให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน เป็นต้น
ดังนั้น เพื่อเป็นการส่งเสริมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพโดยใช้กิจกรรมทางกาย รวมไปถึงใช้สนามเด็กเล่นตามแนวคิดฐานปัญญา Brain Base Learning (BBL) จึงเห็นสมควรส่งเสริมสนับสนุนให้ครูได้นำกิจกรรมทางกาย (Physical Activity) มาพัฒนาเป็นกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพแก่นักเรียน รวมทั้งการส่งเสริมโดยการจัดพื้นที่และอุปกรณ์สำหรับการออกกำลังกายและเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพ โดยดำเนินการสร้างความเป็นต้นแบบด้านการใช้กิจกรรมทางกายออกกำลังกายเพื่อสุขภาพแก่นักเรียน สร้างรูปแบบสนามเด็กเล่นตามแนวคิดฐานปัญญา เพื่อเป็นแนวทางที่นำไปสู่การพัฒนาการกำหนดนโยบาย รวมทั้งเป็นการสร้างเครือข่ายกับหน่วยงานต่าง ๆ ให้มีระบบกลไกในการดำเนินงานการส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรม
การออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพสำหรับนักเรียนทุกเพศ ทุกวัย อีกทั้งระดมทรัพยากรในพื้นที่เพื่อสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพสำหรับนักเรียน รวมถึงพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในพื้นที่เป้าหมายต่อไป
โรงเรียนบ้านคลองโตน เห็นความสำคัญของการส่งเสริมการออกกำลังกายดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายและการเล่นกีฬาในโรงเรียน ประจำปีงบประมาณ 2568 ขึ้น เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่มุ่งเน้นให้มีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน ซึ่งเป็นพื้นฐานในการดำเนินชีวิตได้อย่างปกติสุข
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมทักษะความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกาย
- เพื่อส่งเสริมสร้างพัฒนาการทางด้านร่างกายและจิตใจให้สมบูรณ์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
140
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนโรงเรียนบ้านคลองโตนได้ออกกำลังกายทุกวัน
- นักเรียนและเยาวชนมีสุขภาพแข็งแรง สุขภาพจิตดี มีรูปร่างสมส่วน
- นักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และห่างไกลยาเสพติด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมทักษะความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกาย
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อส่งเสริมสร้างพัฒนาการทางด้านร่างกายและจิตใจให้สมบูรณ์
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
140
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
140
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมทักษะความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกาย (2) เพื่อส่งเสริมสร้างพัฒนาการทางด้านร่างกายและจิตใจให้สมบูรณ์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายและเล่นกีฬาในโรงเรียน จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1516-02-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสุริยัน ดำแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายและเล่นกีฬาในโรงเรียน ”
ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายสุริยัน ดำแก้ว
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1516-02-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายและเล่นกีฬาในโรงเรียน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาวิเศษ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายและเล่นกีฬาในโรงเรียน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายและเล่นกีฬาในโรงเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1516-02-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,244.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาวิเศษ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบัน ปัญหาของการจัดการศึกษาของประเทศไทย เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศในกลุ่มอาเซียน จะเห็นได้ว่าประเทศเทศไทยจัดอยู่ในอันดับรั้งท้าย นอกจากปัญหาดังกล่าวแล้วยังพบปัญหาเกี่ยวกับนักเรียนที่มีปัญหาด้านการมีน้ำหนักตัวเกินเกณฑ์สำหรับนักเรียนที่เรียนในเขตเมือง และน้ำหนักตัวต่ำกว่าเกณฑ์สำหรับ นักเรียนที่เรียนในถิ่นทุรกันดาร ซึ่งปัญหาดังกล่าวกำลังเป็นภัยคุกคามที่จะส่งผลต่อสุขภาพและสมรรถภาพทางกายส่วนรวม อีกทั้งจะเป็นปัญหาที่เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งโดยธรรมชาติของเด็กในวัยเรียนระดับประถมศึกษา มีความต้องการที่จะเคลื่อนไหวร่างกายในรูปแบบต่าง ๆ อย่างน้อยเฉลี่ยวันละ 3-4 ชั่วโมง จึงทำให้เกิดการใช้พลังงานไม่สมดุลกับการรับประทานอาหารในแต่ละวันโดยเฉพาะอย่างยิ่งอาหารจานด่วนทั้งหลาย และปัญหาการขาดแคลนด้านทุพโภชนาการ กล่าวคือน้ำหนักตัวที่ต่ำกว่า หรือเกินเกณฑ์มาตรฐาน ส่งผลให้การเรียนการสอนทำได้ไม่เต็มที่ และขาดหลักโภชนาการ ขาดความสนใจเกี่ยวกับการออกกำลังกาย เนื่องจากปัญหาการขาดแคลนอุปกรณ์และเครื่องเล่นต่าง ๆ รวมทั้งสถานที่ที่เอื้อต่อการออกกำลังกายอย่างอิสระ ปัญหาการขาดการออกกำลังกาย นักเรียนจำนวนมากไม่เห็นความสำคัญของการออกกำลังกายจึงใช้ชีวิตประจำวันที่ไม่มีการเคลื่อนไหวร่างกาย เช่น การเล่นเกมคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน การนั่งดูโทรทัศน์ตลอดเวลา ทำให้ร่างกายไม่มีการเคลื่อนไหวออกกำลังกาย ซึ่งมีผลเสียต่อสุขภาพ ในระยะแรกอาจทำให้เป็นโรคอ้วน ขาดความคล่องตัว เซื่องซึม ขาดความกระตือรือร้น ไม่แจ่มใส ในระยะยาว การไม่ออกกำลังกายร่วมกับการบริโภคที่ไม่ดีจะทำให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน เป็นต้น
ดังนั้น เพื่อเป็นการส่งเสริมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพโดยใช้กิจกรรมทางกาย รวมไปถึงใช้สนามเด็กเล่นตามแนวคิดฐานปัญญา Brain Base Learning (BBL) จึงเห็นสมควรส่งเสริมสนับสนุนให้ครูได้นำกิจกรรมทางกาย (Physical Activity) มาพัฒนาเป็นกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพแก่นักเรียน รวมทั้งการส่งเสริมโดยการจัดพื้นที่และอุปกรณ์สำหรับการออกกำลังกายและเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพ โดยดำเนินการสร้างความเป็นต้นแบบด้านการใช้กิจกรรมทางกายออกกำลังกายเพื่อสุขภาพแก่นักเรียน สร้างรูปแบบสนามเด็กเล่นตามแนวคิดฐานปัญญา เพื่อเป็นแนวทางที่นำไปสู่การพัฒนาการกำหนดนโยบาย รวมทั้งเป็นการสร้างเครือข่ายกับหน่วยงานต่าง ๆ ให้มีระบบกลไกในการดำเนินงานการส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรม
การออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพสำหรับนักเรียนทุกเพศ ทุกวัย อีกทั้งระดมทรัพยากรในพื้นที่เพื่อสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพสำหรับนักเรียน รวมถึงพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในพื้นที่เป้าหมายต่อไป
โรงเรียนบ้านคลองโตน เห็นความสำคัญของการส่งเสริมการออกกำลังกายดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายและการเล่นกีฬาในโรงเรียน ประจำปีงบประมาณ 2568 ขึ้น เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่มุ่งเน้นให้มีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน ซึ่งเป็นพื้นฐานในการดำเนินชีวิตได้อย่างปกติสุข
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมทักษะความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกาย
- เพื่อส่งเสริมสร้างพัฒนาการทางด้านร่างกายและจิตใจให้สมบูรณ์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 140 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนโรงเรียนบ้านคลองโตนได้ออกกำลังกายทุกวัน
- นักเรียนและเยาวชนมีสุขภาพแข็งแรง สุขภาพจิตดี มีรูปร่างสมส่วน
- นักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และห่างไกลยาเสพติด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมทักษะความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกาย ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อส่งเสริมสร้างพัฒนาการทางด้านร่างกายและจิตใจให้สมบูรณ์ ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 140 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 140 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมทักษะความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกาย (2) เพื่อส่งเสริมสร้างพัฒนาการทางด้านร่างกายและจิตใจให้สมบูรณ์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายและเล่นกีฬาในโรงเรียน จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1516-02-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสุริยัน ดำแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......