โครงการพัฒนาสถานีสุขภาพ ประจำปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการพัฒนาสถานีสุขภาพ ประจำปี 2568 |
รหัสโครงการ | 68-8414-02-07 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมอสม.ตำบลกงหรา |
วันที่อนุมัติ | 1 มกราคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มกราคม 2568 - 1 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 10,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | ประธานชมรมอสม.ตำบลกงหรา |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลกงหรา อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 100 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
คุณภาพชีวิตเป็นเป้าหมายหลักของสังคมคือประชาชนมีสุขภาพอนามัยดีทั้งร่างกายและจิตใจทุกเพศ ทุกวัยจากการศึกษาข้อมูลพบว่า โรคไม่ติดต่อเป็นสาเหตุการเสียชีวิต 2 ใน 3 ของประเทศไทย ส่งผลต่อ ทั้งด้านเศรษฐกิจและพัฒนาประเทศ อีกทั้งมีแนวโน้วเพิ่มขึ้นในช่วงสองทศวรรษ ที่ผ่านมา ซึ่งมีสาเหตุจากปัจจัยหลายด้านตั้งแต่ การจัดบริการคัดกรวงไม่ทั่วถึง และประชาชนขาดโอการในการเข้าถึงบริการและองค์ความรู้ในการจัดการตัวเอง ระหว่างสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิส-19 กระทรวงสาธารณสุข ได้มีนโยบายลดความแออัดในสถานพยาบาล ทำให้เกิดนวัตกรรมการให้บริการ คัดกรองและติดตามภาวะความกดดันและน้ำตาลในเลือดนอกสถานพยาบาล มีสมุดบันทึกข้อมูลสุขภาพออนไลน์ด้วยApplication บนมือถือของประชาชน และเชื่อมข้อมูลกับกับสถานพยาบาล โดยมีสถานที่ตั้งให้บริการอยู่ในชุมชน มีชื่อเรียกว่า สถานีสุขภาพดิจิทัล ซึ่งหมายถึงสถานที่สำหรับ ให้บริการตรวจสุขภาพด้วยตนเองของประชาชนทุกกลุ่มวัย ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้ตลอดเวลาเมื่อมีความต้องการตรวจเช็คสุขภาพของตนตนเอง และ เป็นช่องทางในการสื่อสารความเสี่องสุขภาพผ่าน Platfrom Digital โดยมีความคาดหวังจะช่วยลดอัตตราการป่วย และการเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อลงได้ จึงได้เขียนโครงการจัดตั้งสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station ขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี |
---|
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 10,000.00 | 0 | 0.00 | |
1 ม.ค. 68 - 1 ก.พ. 68 | กิจกรรมที่ 1การเตรียมความพร้อมการดำเนินงาน | 0 | 0.00 | - | ||
1 ก.พ. 68 - 1 มิ.ย. 68 | กิจกรรมที่ 2 การจัดหาวัสดุประจำสถานีสุขภาพ | 0 | 10,000.00 | - | ||
1 มิ.ย. 68 - 1 ก.ย. 68 | กิจกรรมที่ 3 การประเมินผลโครงการ | 0 | 0.00 | - |
1ประชาชนไปใช้บริการที่สถานีสุขภาพ 2.ประชาชนมีส่วยร่วมในการดูแลสุขภาพ 3.เกิดความรู้ในการดูแลตนเอง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 ก.พ. 2568 00:00 น.