กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง


“ โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนสุขภาพเด็กเบตง ใส่ใจ 3อ ห่างไกล 2ส ประจำปี 2561 ”

ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายวีรวรรธ ทองธรรมชาติ

ชื่อโครงการ โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนสุขภาพเด็กเบตง ใส่ใจ 3อ ห่างไกล 2ส ประจำปี 2561

ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2561/L7161/1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนสุขภาพเด็กเบตง ใส่ใจ 3อ ห่างไกล 2ส ประจำปี 2561 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนสุขภาพเด็กเบตง ใส่ใจ 3อ ห่างไกล 2ส ประจำปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนสุขภาพเด็กเบตง ใส่ใจ 3อ ห่างไกล 2ส ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2561/L7161/1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของสังคม เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม ทำให้ชีวิตของคนไทยมีความเสี่ยงต่อภัยทางสุขภาพ เสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคและภัยอันตรายต่างๆ ในชีวิตประจำวัน เด็ก เยาวชน และประชาชนจำนวนไม่น้อยที่เจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ โดยเฉพาะการเจ็บป่วยซึ่งเกิดจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม สุขภาพที่ดีเป็นสิ่งที่มีความสำคัญอย่างยิ่งสำหรับทุกคน เป็นสิ่งสำคัญต่อการดำรงชีวิต ผู้ที่มีสุขภาพดีจะสามารถใช้ชีวิตประจำวันและปฏิบัติภารกิจได้อย่างเต็มความสามารถ โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนที่อยู่ในช่วงที่กำลังเจริญเติบโตและมีการเรียนรู้ การดูแลและส่งเสริมสุขภาพให้มีความสมบูรณ์ จะทำให้มีสมรรถภาพในการเรียน มีความสามารถเรียนรู้ได้อย่างเต็มที่ และร่างกายเจริญเติบโตและมีการพัฒนาได้อย่างสมวัย ซึ่งจะทำให้เป็นผู้ใหญ่ที่มีศักยภาพในการทำหน้าที่การงาน แต่ในทางตรงข้ามหากไม่ดูแลสุขภาพหรือทำกิจกรรมที่มีความเสี่ยงที่จะทำให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพ จะทำให้เกิดการเจ็บป่วย อาจเป็นอุปสรรคต่อการเรียนรู้ ไม่สามารถเรียนได้เท่าที่ควร ซึ่งอาจทำให้สูญเสียโอกาสหลายๆ อย่าง ทำให้เสียค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษา และอาจเป็นผลเสียต่อไปในอนาคต การดูแลสุขภาพจึงเป็นเรื่องสำคัญมากที่ทุกคนต้องตระหนักและไม่ปล่อยปละละเลย วัยเด็กและเยาวชนที่แข็งแรงในวันนี้ คือ ผู้ใหญ่ที่สุขภาพดีในวันหน้า เด็กและเยาวชนจึงควรได้รับการส่งเสริมให้เจริญเติบโตอย่างสมวัย มีพลานามัยสมบูรณ์แข็งแรงในทุกๆ ด้าน ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ การที่จะทำให้เด็กและเยาวชนมีสุขภาพดี ควรส่งเสริม สนับสนุนให้เด็กและเยาวชน เห็นถึงความจำเป็น และมีความรู้ ความเข้าใจในการที่จะต้องมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง เหมาะสม ในเรื่องของการกินอาหารให้ถูกต้อง ควบคู่กับการออกกำลังกายสม่ำเสมอ และทำจิตใจให้แจ่มใส เบิกบาน นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ซึ่งการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง เหมาะสมในการดูแลสุขภาพด้านร่างกายและจิตใจ ดังกล่าวข้างต้น เป็นการป้องกันและลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังต่างๆ เช่น โรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคมะเร็ง เป็นต้น ซึ่งเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยตนเอง โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้อง เหมาะสม เพื่อทำให้ร่างกายและจิตใจสมบูรณ์แข็งแรง มีภูมิต้านทานโรค เจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไป ดังนั้น งานสุขศึกษา โรงพยาบาลเบตง ได้ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนสุขภาพเด็กเบตง ใส่ใจ 3อ ห่างไกล 2ส ซึ่งเป็นการจัดกิจกรรมในกลุ่มเป้าหมายเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง ในการดูแลตนเองให้มีสุขภาพแข็งแรง ไม่เจ็บป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และทัศนคติในการดูแลสุขภาพในเรื่อง 3อ 2ส (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ บุหรี่ แอลกอฮอล์)
  2. 2. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม และลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
  3. 3. เพื่อลดความเสี่ยงการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในกลุ่มเด็กและเยาวชน
  4. 4. เพื่อพัฒนาเครือข่ายนักเรียนแกนนำด้านสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็กวัยเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพตามหลัก 3อ 2ส
    2. เด็กวัยเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมในด้านการบริโภคอาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์
    3. เด็กวัยเรียนมีสุขภาพดี ลดพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
    4. มีเครือข่ายแกนนำนักเรียนในการถ่ายทอดสื่อสารความรู้ในสถานศึกษา

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    งบประมาณที่ได้รับอนุมัติ 25,500 บาท งบประมาณที่เบิกจ่ายจริง 18,180 บาท คิดเป็นร้อยละ 71.30 งบประมาณที่คืนกองทุน 7,320 บาท  คิดเป็นร้อยละ 29.70

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และทัศนคติในการดูแลสุขภาพในเรื่อง 3อ 2ส (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ บุหรี่ แอลกอฮอล์)
    ตัวชี้วัด : 1. เด็กวัยเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพตามหลัก 3อ 2ส ในระดับดีขึ้นไป ร้อยละ 70

     

    2 2. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม และลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
    ตัวชี้วัด : 1. เด็กวัยเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ในระดับพอใช้ขึ้นไป ร้อยละ 70

     

    3 3. เพื่อลดความเสี่ยงการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในกลุ่มเด็กและเยาวชน
    ตัวชี้วัด : 1. ลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยกลุ่มโรคเรื้อรังในกลุ่มเด็กวัยเรียน (7-14 ปี)

     

    4 4. เพื่อพัฒนาเครือข่ายนักเรียนแกนนำด้านสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : 1. มีเครือข่ายนักเรียนแกนนำด้านสุขภาพในแต่ละโรงเรียน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และทัศนคติในการดูแลสุขภาพในเรื่อง 3อ 2ส (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ บุหรี่ แอลกอฮอล์) (2) 2. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม และลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (3) 3. เพื่อลดความเสี่ยงการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในกลุ่มเด็กและเยาวชน (4) 4. เพื่อพัฒนาเครือข่ายนักเรียนแกนนำด้านสุขภาพ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนสุขภาพเด็กเบตง ใส่ใจ 3อ ห่างไกล 2ส ประจำปี 2561 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 2561/L7161/1

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายวีรวรรธ ทองธรรมชาติ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด