กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากตามกลุ่มวัย
รหัสโครงการ 2561/L7161/1
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลเบตง
วันที่อนุมัติ 15 ธันวาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 2 มกราคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 157,852.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายชัยศักดิ์แซ่ว่อง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 5.803,101.009place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอนามัยแม่และเด็ก , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 5 ม.ค. 2561 5 ม.ค. 2561 157,852.00
รวมงบประมาณ 157,852.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 500 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 1000 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

ระบุ

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ฟัยผุ เป็นโรคเรื้อรังมีผลกระทบต่อสุขภาพทั่วไปของประชาชนทุกกลุ่มวัย ในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์พบปัญหาเหงือกอักเสบและฟันผุร้อยละ 75.00 การที่แม่มีฟันผุมีผลการพัฒนาของเด็กในครรภ์ ในวัยเด็กปัญหาฟันผุทำให้เด็กไม่สามารถเคี้ยวอาหารได้ตามปกติ ส่งผลให้เกิดภาวะทุพโภชนาการ (ผอม เตี้น) มากกว่าเด็กที่ฟันไม่ผุ รวมถึงส่งผลต่อการเรียนของเด็กด้วย เด็กไทยเริ่มพบฟันผุได้ตั้งแต่ 9 เดือนและจะเพิ่มสูงขึ้นตามอายุที่เพิ่มขึ้น ยังพบว่าปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดโรคฟันผุ คือการบริโภคอาหารและเครื่องดื่มที่ผสมน้ำตาลและไม่ทำความสะอาดช่องปากอย่างสม่ำเสมอ และไม่แปรงฟันก่อนนอน จากผลการตรวจฟันของอำเภอเบตงปีงบประมาณ 2560 พบว่า ในเด็ก 18 เดือน พบฟันผุ ร้อยละ 6.89 ในเด็ก 3 ปี พบฟันผุ ร้อยละ 35.97 ในเด็ก 6ปี พบฟันแท้ผุ ร้อยละ 8.62 เด็ก 9 ปี พบฟันแท้ผุ ร้อยละ 24.80 และเด็ก 12 ปี พบฟันผุ ร้อยละ 41.12

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อตรวจสภาวะช่องปากนักเรียนและลงบันทึกสภาวะช่องปากนักเรียน

นักเรียน ป.1 ได้รับการตรวจฟัน ร้อยละ 100

2 2. เพื่อดูแลสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัย

เด็กได้รับการทาฟุออไรด์วานิช ร้อยละ 60

3 3. เพื่อฝึกการย้อมสีฟันและฝึกแปรงฟันที่ถูกวิธี

หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝึกแปรงฟันที่ถูกวิธี ร้อยละ 60

4 4. เพื่อดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก 3 ขวบ

เด็ก 3 ขวบ ได้รับการอุดฟันด้วยวิธี SMART ร้อยละ 50

5 5. เพื่อดูแลสุขภาพช่องปากเด็กนักเรียน

นักเรียนได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน ร้อยละ 50

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 1600 157,852.00 1 157,852.00
2 ม.ค. 61 - 31 ส.ค. 61 กิจกรรมดูแลและส่งเสริมสุขภาพช่องปากตามกลุ่มวัย 1,600 157,852.00 157,852.00
  1. เขียนโครงการ
  2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการโครงการ
  3. ประชุมคณะกรรมการ
  4. ติดต่อประสานกลุ่มเป้าหมายโครงการ
  5. ดำเนินการตามโครงการ
  6. สรุปและรายงานผล
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจช่องปาก ย้อมสีฟัน ฝึกการแปรงฟันและสามารถแปรงฟันที่ถูกวิธี เพื่อป้องกันฟันผุ
  2. นักเรียนได้รับการตรวจฟันที่โรงเรียนและลงบันทึกในสมุดลูกรักฟันดี และได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน เพื่อป้องกันฟันผุ
  3. เด็กปฐมวัยได้รับการทาฟลูออไรด์วานิชที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและอนุบาล เพื่อป้องกันฟันผุ
  4. เด็ก 3 ขวบได้รับการอุดฟันด้วยวิธี SMART ที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและอนุบาล เพื่อให้เคี้ยวอาหารได้
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 ม.ค. 2561 13:18 น.