โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดีด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดีด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ”
ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางอุไรวรรณ ลีสุรพงศ์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำแคลง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดีด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1485-1-07 เลขที่ข้อตกลง 6/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดีด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดีด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดีด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1485-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันความก้าวหน้าด้านการแพทย์และสาธารณสุข ส่งผลให้จำนวนและสัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุไทยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วโดยสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุเพิ่มจากร้อยละ ๑๐.๗ ในปี ๒๕๕๐ (๗.๐ ล้านคน) เป็นร้อยละ ๑๑.๘ (๗.๕ ล้านคน) ในปี ๒๕๕๓ และร้อยละ ๒๐.๐ (๑๔.๕ ล้านคน) ในปี ๒๕๖๘ (สำนักงานสถิติแห่งชาติ,๒๕๕๑) นับว่าอัตราการเข้าสู่ “ภาวะประชากรสูงอายุ (Population Ageing)” เร็วมาก ซึ่งหมายความว่าประเทศไทยมีเวลาสั้นมากที่จะเตรียมการเพื่อรองรับประชากรผู้สูงอายุ ทั้งในด้านสุขภาพ เศรษฐกิจและสังคม
ผู้สูงอายุต้องการผู้ดูแลในการทำกิจกรรมประจำวัน จากการตรวจสุขภาพโดยการตรวจร่างกายพบว่าผู้สูงอายุวัยปลาย (อายุ ๘๐ ปีขึ้นไป) ต้องมีคนดูแลบางเวลาร้อยละ ๕๒.๒ และต้องมีคนดูแลตลอดเวลา ร้อยละ ๑๐.๒ (เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม,๒๕๔๗) อายุยิ่งสูงยิ่งเจ็บป่วย จากการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปี ๒๕๕๐ พบว่า ร้อยละ ๖๙.๓ ของประชากรในกลุ่มอายุ ๖๐ - ๖๙ ปี เป็นโรคเรื้อรังและพบเพิ่มขึ้นเมื่ออายุมากขึ้น และเพิ่มขึ้นเป็น ๘๓.๓ ในกลุ่มที่มีอายุ ๙๐ ปีขึ้นไป จากสถานการณ์ดังกล่าว อันทำให้ผู้สูงอายุและผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุมีแนวโน้มเจ็บป่วยมากและเร็วขึ้น สำหรับผู้สูงอายุในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำแคลง มีจำนวน 500 คน ผลการประเมินการทำกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐาน (ADL) เป็นผู้สูงอายุที่ติดสังคม ร้อยละ ๙๕.๖๕ ติดบ้าน ร้อยละ ๓.๑๐ และติดเตียงร้อยละ ๑.๒๔
เนื่องจากในปัจจุบันโรคเรื้อรังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ จากการวิเคราะห์ข้อมูลผู้สูงอายุของ รพ.สต.บ้านลำแคลง ที่เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังมีทั้งหมด 322 คน แบ่งเป็นโรคความดันโลหิตสูง 113 คน เป็นโรคเบาหวาน 43 คน ซึ่งผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรัง อาจนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงและเสียชีวิตได้ เช่น โรคไตวาย โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง จะเห็นได้ว่าผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรังมีโอกาสเกิดภาวะทุพลภาพได้ง่าย และในปัจจุบันจะสังเกตุได้ว่าผู้สูงอายุจะมีอาการปวดเมื่อยตามกระดูกและข้อ มีการปวดเมื่อยตามร่างกายอันเนื่องจากการทำงาน และเมื่อร่างกายถูกนำไปใช้งานในการประกอบอาชีพมากขึ้น อาจเกิดข้อติดได้ในผู้สูงอายุบางราย ทำให้เกิดผลกระทบทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และเศรษฐกิจ ที่อาจนำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ลดลงได้
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำแคลง จึงเห็นความสำคัญในการดูแลและป้องกันการเจ็บป่วยของวัยผู้สูงอายุ จึงได้จัดทำโครงการ ผู้สูงอายุสุขภาพดีด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุเกิดประโยชน์สูงสุดทางการรักษาแพทย์แผนไทยควบคู่กับการรักษาแพทย์แผนปัจจุบัน และเป็นการลดการใช้ยาที่ส่งผลต่อการเกิดโรคไตในระยะยาว
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และเข้าใจการรักษาด้านการแพทย์แผนไทยมากขึ้น และสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง
- 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถทำลูกประคบสมุนไพรและนำลูกประคบสมุนไพรไปใช้ในการรักษาอาการปวดเมื่อยได้
- 3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการเพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถทำยาพอกเข่าสมุนไพรและนำยาพอกเข่าสมุนไพรไปใช้ในการรักษาอาการปวดเข่าได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
25
กลุ่มผู้สูงอายุ
25
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และเข้าใจการรักษาด้านการแพทย์แผนไทยมากขึ้น และสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง
- ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถทำลูกประคบสมุนไพรและนำลูกประคบสมุนไพรไปใช้ในการรักษาอาการปวดเมื่อยได้
- ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถทำยาพอกเข่าสมุนไพรและนำยาพอกเข่าสมุนไพรไปใช้ในการรักษาอาการปวดเข่าได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และเข้าใจการรักษาด้านการแพทย์แผนไทยมากขึ้น และสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง
ตัวชี้วัด :
2
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถทำลูกประคบสมุนไพรและนำลูกประคบสมุนไพรไปใช้ในการรักษาอาการปวดเมื่อยได้
ตัวชี้วัด :
3
3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการเพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถทำยาพอกเข่าสมุนไพรและนำยาพอกเข่าสมุนไพรไปใช้ในการรักษาอาการปวดเข่าได้
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
25
กลุ่มผู้สูงอายุ
25
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และเข้าใจการรักษาด้านการแพทย์แผนไทยมากขึ้น และสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง (2) 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถทำลูกประคบสมุนไพรและนำลูกประคบสมุนไพรไปใช้ในการรักษาอาการปวดเมื่อยได้ (3) 3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการเพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถทำยาพอกเข่าสมุนไพรและนำยาพอกเข่าสมุนไพรไปใช้ในการรักษาอาการปวดเข่าได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดีด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1485-1-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางอุไรวรรณ ลีสุรพงศ์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำแคลง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดีด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ”
ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางอุไรวรรณ ลีสุรพงศ์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำแคลง
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1485-1-07 เลขที่ข้อตกลง 6/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดีด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดีด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดีด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1485-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันความก้าวหน้าด้านการแพทย์และสาธารณสุข ส่งผลให้จำนวนและสัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุไทยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วโดยสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุเพิ่มจากร้อยละ ๑๐.๗ ในปี ๒๕๕๐ (๗.๐ ล้านคน) เป็นร้อยละ ๑๑.๘ (๗.๕ ล้านคน) ในปี ๒๕๕๓ และร้อยละ ๒๐.๐ (๑๔.๕ ล้านคน) ในปี ๒๕๖๘ (สำนักงานสถิติแห่งชาติ,๒๕๕๑) นับว่าอัตราการเข้าสู่ “ภาวะประชากรสูงอายุ (Population Ageing)” เร็วมาก ซึ่งหมายความว่าประเทศไทยมีเวลาสั้นมากที่จะเตรียมการเพื่อรองรับประชากรผู้สูงอายุ ทั้งในด้านสุขภาพ เศรษฐกิจและสังคม
ผู้สูงอายุต้องการผู้ดูแลในการทำกิจกรรมประจำวัน จากการตรวจสุขภาพโดยการตรวจร่างกายพบว่าผู้สูงอายุวัยปลาย (อายุ ๘๐ ปีขึ้นไป) ต้องมีคนดูแลบางเวลาร้อยละ ๕๒.๒ และต้องมีคนดูแลตลอดเวลา ร้อยละ ๑๐.๒ (เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม,๒๕๔๗) อายุยิ่งสูงยิ่งเจ็บป่วย จากการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปี ๒๕๕๐ พบว่า ร้อยละ ๖๙.๓ ของประชากรในกลุ่มอายุ ๖๐ - ๖๙ ปี เป็นโรคเรื้อรังและพบเพิ่มขึ้นเมื่ออายุมากขึ้น และเพิ่มขึ้นเป็น ๘๓.๓ ในกลุ่มที่มีอายุ ๙๐ ปีขึ้นไป จากสถานการณ์ดังกล่าว อันทำให้ผู้สูงอายุและผู้เตรียมสู่วัยสูงอายุมีแนวโน้มเจ็บป่วยมากและเร็วขึ้น สำหรับผู้สูงอายุในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำแคลง มีจำนวน 500 คน ผลการประเมินการทำกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐาน (ADL) เป็นผู้สูงอายุที่ติดสังคม ร้อยละ ๙๕.๖๕ ติดบ้าน ร้อยละ ๓.๑๐ และติดเตียงร้อยละ ๑.๒๔
เนื่องจากในปัจจุบันโรคเรื้อรังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ จากการวิเคราะห์ข้อมูลผู้สูงอายุของ รพ.สต.บ้านลำแคลง ที่เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังมีทั้งหมด 322 คน แบ่งเป็นโรคความดันโลหิตสูง 113 คน เป็นโรคเบาหวาน 43 คน ซึ่งผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรัง อาจนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงและเสียชีวิตได้ เช่น โรคไตวาย โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง จะเห็นได้ว่าผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรังมีโอกาสเกิดภาวะทุพลภาพได้ง่าย และในปัจจุบันจะสังเกตุได้ว่าผู้สูงอายุจะมีอาการปวดเมื่อยตามกระดูกและข้อ มีการปวดเมื่อยตามร่างกายอันเนื่องจากการทำงาน และเมื่อร่างกายถูกนำไปใช้งานในการประกอบอาชีพมากขึ้น อาจเกิดข้อติดได้ในผู้สูงอายุบางราย ทำให้เกิดผลกระทบทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และเศรษฐกิจ ที่อาจนำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ลดลงได้
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำแคลง จึงเห็นความสำคัญในการดูแลและป้องกันการเจ็บป่วยของวัยผู้สูงอายุ จึงได้จัดทำโครงการ ผู้สูงอายุสุขภาพดีด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุเกิดประโยชน์สูงสุดทางการรักษาแพทย์แผนไทยควบคู่กับการรักษาแพทย์แผนปัจจุบัน และเป็นการลดการใช้ยาที่ส่งผลต่อการเกิดโรคไตในระยะยาว
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และเข้าใจการรักษาด้านการแพทย์แผนไทยมากขึ้น และสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง
- 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถทำลูกประคบสมุนไพรและนำลูกประคบสมุนไพรไปใช้ในการรักษาอาการปวดเมื่อยได้
- 3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการเพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถทำยาพอกเข่าสมุนไพรและนำยาพอกเข่าสมุนไพรไปใช้ในการรักษาอาการปวดเข่าได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 25 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 25 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และเข้าใจการรักษาด้านการแพทย์แผนไทยมากขึ้น และสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง
- ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถทำลูกประคบสมุนไพรและนำลูกประคบสมุนไพรไปใช้ในการรักษาอาการปวดเมื่อยได้
- ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถทำยาพอกเข่าสมุนไพรและนำยาพอกเข่าสมุนไพรไปใช้ในการรักษาอาการปวดเข่าได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และเข้าใจการรักษาด้านการแพทย์แผนไทยมากขึ้น และสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถทำลูกประคบสมุนไพรและนำลูกประคบสมุนไพรไปใช้ในการรักษาอาการปวดเมื่อยได้ ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | 3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการเพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถทำยาพอกเข่าสมุนไพรและนำยาพอกเข่าสมุนไพรไปใช้ในการรักษาอาการปวดเข่าได้ ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 25 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 25 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และเข้าใจการรักษาด้านการแพทย์แผนไทยมากขึ้น และสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง (2) 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถทำลูกประคบสมุนไพรและนำลูกประคบสมุนไพรไปใช้ในการรักษาอาการปวดเมื่อยได้ (3) 3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการเพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถทำยาพอกเข่าสมุนไพรและนำยาพอกเข่าสมุนไพรไปใช้ในการรักษาอาการปวดเข่าได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดีด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1485-1-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางอุไรวรรณ ลีสุรพงศ์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำแคลง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......