โครงการอบรมการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน ด้านการแพทย์ฉุกเฺฉิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568
ชื่อโครงการ | โครงการอบรมการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน ด้านการแพทย์ฉุกเฺฉิน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 |
รหัสโครงการ | 004 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | รพ.สต.ตะเสะ |
วันที่อนุมัติ | 11 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มิถุนายน 2568 - 30 มิถุนายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 27,900.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวชลิดา หลงเส้ง |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลตะเสะ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.033,99.449place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 25 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : |
||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 25 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มวัยทำงาน | 30 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 25 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 25 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ข้อมูลขององค์การอนามัยโลก พบว่าโรคหัวใจเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งในผู้ใหญ่และมักทำให้เกิดภาวะหัวใจหยุดเต้นกระทันหันขณะที่อยู่นอกโรงพยาบาล ในปัจจุบันสาเหตุการเสียชีวิตของประชากรในประเทศไทยโดยส่วนใหญ่เกิดจากโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ และหลอดเลือด โรคหัวใจ หัวใจหยุดเต้นเฉียบพลันแขนขาอ่อนแรงทันทีทันใด หมดสติ เจ็บหน้าอกรุนแรง และที่สำคัญคือการสำลักอาหาร เป็นต้น ผู้ป่วยเหล่านี้อาจมีอาการที่ผิดปกติเกิดขึ้นกับร่างกายหรือบางรายอาจมีภาวะการหยุดหายใจกระทันหัน ถ้าปล่อยไว้นานเกิน 4 นาทีแม้จะช่วยให้ฟื้นคืนชีพกลับมาได้หรือบางรายอาจมีการตายของสมองอย่างถาวร ในกรณีที่บริเวณเกิดเหตุมีเครื่องกระตุกหัวใจด้วยกระแสไฟฟ้าชนิดอัตโนมัติผู้ช่วยเหลือสามารถปฏิบัติการกู้ชีพที่รวดเร็วภายใน 3-5 นาทีหลังจากผู้ป่วยเกิดอาการควบคู่กับการดูแลผู้ป่วยที่ชีพจรฟื้นคืนกลับมาอย่างเหมาะสมอาจเพิ่มโอกาสรอดชีวิตได้ถึงร้อยละ 50-70 แต่หากเกิดความล่าช้าโอกาสรอดชีวิตอาจลดลง ดังนั้นการได้รับการช่วยเหลือเบื้องต้นอย่างทันท่วงทีและถูกต้องและมีการส่งต่อผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บต่อไปยังสถานพยาบาลอย่างเหมาะสมรวดเร็วและถูกวิธี
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี |
---|
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
1.วางแผนและเสนอโครงการ เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะเสะ 2.ประสานกับหน่วยงานฝึกอบรมในการจัดหาวิทยาการให้ความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน ด้านการแพทย์ฉุกเฉิน 3.เตรียมวัสดุอุปกรณ์สำหรับการฝึกอบรม พร้อมทั้งจัดเตรียมสถานที่ที่ใช้ในการจัดอบรม 4.ประสานไปยังหน่วยงานต่างๆในตำบลตะเสะ เพื่อจัดสรรบุคลากรกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ 5.จัดกิจกรรมฝึกอบรมการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน ด้านการแพทย์ฉุกเฉิน 6.ติดตามประเมินผลการดำเนินโครงการ 7.สรุปผลการดำเนินงาน และรายงานผลให้คณะกรรมการกองุทนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะเสะทราบเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ
1.ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน 2.ผู้เข้ารับการอบรมสามารถปฏิบัติการปฐมพยาบาลเบื้องต้นแลชะการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน 3.ลดภาวะความพิการและเสียชีวิต
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 17 มี.ค. 2568 11:02 น.