โครงการส่งเสริมเฝ้าระวังสุขภาพจิตวัยทำงานในชุมชน
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมเฝ้าระวังสุขภาพจิตวัยทำงานในชุมชน |
รหัสโครงการ | 005 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | รพ.สต.ตะเสะ |
วันที่อนุมัติ | 11 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มิถุนายน 2568 - 30 มิถุนายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 5,300.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวมินทร์ตรา สามัญ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลตะเสะ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.033,99.449place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
การฆ่าตัวตายเป็นปัญหาทางสังคมมากกว่าจะเป็นปัญหาทางการแพทย์แต่เพียงอย่างเดียว แม้ว่าการจัดบริการให้ความช่วยเหลือผู้อยู่ในภาวะวิกฤตของชีวิตและการให้การรักษาทางจิตเวชอย่างถูกต้องจะเป็นสิ่งสำคัญ แต่มาตรการการป้องกันการฆ่าตัวตายหลายประการ ต้องอาศํยความร่่วมมือของหน่วยงานต่างๆ ในสังคมเราอาจกำหนดมาตรการป้องกันการฆ่าตัวตาย ได้แก่ การจัดการศึกษา การควบคุมวิธีการที่ใช้ในการฆ่าตัวตาย จัดบริการปรึกษาปัญหาสุขภาพจิต การวินิจฉัยและรักษาโรคทางจิตเวชอย่างถูกต้อง การสร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวและสังคม การเฝ้าระวังภาวะซึมเศร้า ซึ่งภาวะซึมเศร้า เป็นโรคทางจิตเวชที่มีผู้เป็นจำนวนไม่น้อย แต่ยังมีผู้รู้จักโรคนี้ไม่มากนัก บางคนเป็นโดยที่ตัวเองไม่ทราบ คิดว่าเป็นเพราะตนเองคิดมากไปเองก็มี ทำให้ไม่ได้รับการรักษาที่เหมาะสม และทันท่วงที เป็นสาเหตุของการฆ่าตัวตาย สำหรับสาเหตุของภาวะซึมเศร้ามีความสัมพันธ์กับหลายปัจจัย ทั้งจากด้านกรรมพันธุ์ การพลัดพรากจากพ่อแม่ในวัยเด็ก พัฒนาการของจิตใจ รวมถึงการเปลี่ยนแปลงของระดับสารเคมีในสมองบางตัว โดยมีความเครียดทางจิตสังคมเป็นตัวกระตุ้นให้เป็นโรคได้มากขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี |
---|
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
1.เขียนโครงการและเสนอเพื่ออนุมัติ 2.ติดต่อประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมดำเนินงาน 3.เตรียมเอกสาร วัสดุ อุปกรณ์ งบประมาณ และประสานงานวิทยากร 4.จัดอบรมให้ความรู้การส่งเสริมเฝ้าระวังสุขภาพจิตวัยทำงาน และผู้สูงอายุ 5.สรุปผลการดำเนินงาน และรายงานผลให้คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะเสะ ทราบเมื่อสร็จสิ้นโครงการ
1.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และสามารถจัดการอารมณ์ได้อย่างถูกวิธี 2.ผู้ป่วยจิตเวชรายใหม่ในชุมชนลดลง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 17 มี.ค. 2568 13:17 น.