โครงการเหาหาย สบายหัว ประจำปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการเหาหาย สบายหัว ประจำปี 2568 |
รหัสโครงการ | |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | รพ.สต.บ้านทับหลวง |
วันที่อนุมัติ | 24 ธันวาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 18,487.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวนิภาวรรณ อะลีหะ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.61,100.833place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 204 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคเหาเป็นโรคที่พบกันบ่อยมากใน กลุ่ม นักเรียนตั้งแต่ชั้นปฐมวัยจนถึงประถมศึกษาโดยพบว่ามีนักเรียนติดเหาประมาณ 80-90 % ซึ่งโรคเหานับเป็นโรคที่น่ารังเกียจ สำหรับคนทั่วไป นอกจากก่อให้เกิดความรำคาญกับผู้ที่เป็นเหาจากการมีอาการคันศีรษะแล้วยังทำให้เสียสมาธิในการเรียน เสียบุคลิกภาพ และยังเป็นพาหะนำไปติดผู้อื่นต่อไป วิธีการรักษาเหา จะต้องทำการรักษาผู้ที่เป็นเหาและผู้ที่อยู่ใกล้ชิดควบคู่กันไป โดยต้องทำการควบคุมไม่ให้เหาแพร่กระจาย และป้องกันไม่ให้เกิดการติดเหาซ้ำโดย ใช้ยาเพื่อฆ่าเหาซึ่งยามีทั้งในรูปครีมเจล หรือโลชั่น ซึ่งวิธีการรักษาเหาในรูปแบบดังกล่าวเป็นวิธีการที่ทำได้ง่าย และเห็นผลชัดเจน จากผลการตรวจสุขภาพเด็กนักเรียนในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทับหลวง ปีการศึกษา 2567 นั้น พบเด็กนักเรียนหญิงเป็นเหา ร้อยละ 85 ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทับหลวง ได้เล็งเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพของนักเรียนที่เป็นโรคเหา จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อกำจัดเหานักเรียนในโรงเรียนที่รับผิดชอบ
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้เด็กนักเรียนหญิงมีเหาลดลง
|
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
ขั้นเตรียมการ
1. จัดทำแผนและขออนุมัติจัดทำโครงการ
2. เตรียมข้อมูล เอกสาร และ วัสดุอุปกรณ์
ขั้นดำเนินการ
1. จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ในการจัดทำโครงการ
๒. จัดกิจกรรมหมักเหาแก่กลุ่มเป้าหมาย
3. กิจกรรมติดตามหลังหมักเหา 1 เดือน
ขั้นสรุปวิเคราะห์และประเมินผล
๑. รวบรวมข้อมูลและรายงานผล
2. สรุปและประเมินผลโครงการ
3. คืนข้อมูลแก่หัวหน้าหน่วยงานและอบต.
- นักเรียนหญิงในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทับหลวง ปราศจากเหา ร้อยละ 90
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 17 มี.ค. 2568 13:48 น.