โครงการส่งเสริมตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ”
ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางหะซะนะฮ์ นาราปัตย์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
ที่อยู่ ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4155-01-03 เลขที่ข้อตกลง 003/68
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4155-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคมะเร็งเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยทำให้เกิดการสูญเสียชีวิตของประชาชนและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเป็นจำนวนมาก โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งในประเทศไทย จากข้อมูลสถิติสาธารณสุขปี พ.ศ.2546 (สถาบันมะเร็งแห่งชาติ, 2548) พบว่า อัตราตายจากโรคมะเร็งของประชากรไทยมีแนวโน้มสูงขึ้น และโรคมะเร็งที่พบมากที่สุดในประเทศไทย ได้แก่ มะเร็งตับ มะเร็งปอด มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม ตามลำดับ สำหรับสตรีไทยโรคมะเร็งปากมดลูกมีอุบัติการณ์สูงเป็นอันดับหนึ่งของโรคมะเร็งทุกชนิด (สถาบันมะเร็งแห่งชาติ, 2548) นอกจากนี้ยังพบว่า การตรวจวินิจฉัยและให้การรักษาผู้ที่มีความผิดปกติของปากมดลูกตั้งแต่ระยะก่อนเป็นมะเร็งตามขั้นตอน ที่ถูกต้องเหมาะสมสามารถลดอุบัติการณ์และอัตราการตายของโรคมะเร็งปากมดลูกได้ เนื่องจากมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่สามารถตรวจพบได้ตั้งแต่เซลล์เริ่มผิดปกติโดยการทำ HPV DNA Test หรือ VIA (Visual Inspection of cervix with Acetic acid)ประกอบกับการดำเนินโรคเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไป และสามารถรักษาให้หายขาดได้โดยการรักษาตามระบบและการจี้เย็น (Cryotherapy) ปีงบประมาณ 2553 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้เห็นความสำคัญของปัญหาจึงให้การสนับสนุนงบประมาณการดำเนินงานโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแก่กระทรวงสาธารณสุข โดยมอบให้สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ ดำเนินโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNA Test และ VIA ในสตรีไทยอายุ 30-60 ปี กำหนดเกณฑ์ตัวชี้วัด ร้อยละของสตรี 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสม ปีงบประมาณ 2567 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
ตำบลกาลูปัง มีเป้าหมาย 581 ราย มีผลการดำเนินงานสามารถคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรี อายุ 30-60 ปี สะสมตั้งแต่ ปี 2563-2567 จำนวน 179 ราย คิดเป็นร้อยละ 26.72 พบเชื้อราในช่องคลอด จำนวน 2 ราย คิดเป็นร้อยละ 01.05 ได้ส่งต่อพบแพทย์โรงพยาบาลรามัน ซึ่งถือว่าน้อยมากและยังไม่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด เนื่องจากหญิงวัยเจริญพันธุ์ยังมีทัศนคติที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการและขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกอีกทั้งบริบทของชุมชนที่เป็นชุมชนมุสลิม ดังนั้นเพื่อให้การคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกในสตรีวัยเจริญพันธุ์ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายและสามารถพบผู้ที่มีความปกติตั้งแต่ระยะแรกเริ่มก่อนเป็นโรคมากขึ้น
ผลการดำเนินงานสามารถคัดกรองมะเร็งเต้านม อายุ 30-70 ปี ดังนี้ กลุ่มเป้าหมายของปี 2567 จำนวน 587 ราย คัดกรองมะเร็งเต้านม จำนวน 610 ราย คิดเป็นร้อยละ 96.13 ผิดปกติจำนวน 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 01.32 ได้ส่งต่อพบแพทย์โรงพยาบาลรามัน เพื่อรับการรักษาที่ต่อเนื่องต่อไป ต่อเนื่อง ในสตรีที่ตรวจพบความผิดปกติของเต้านม ผลการวินิจฉัย พบว่าเป็นซีสต์ (ก้อนไขมัน ) จำนวน 1 ราย ได้รับการวินิจฉัยเป็นมะเร็งเต้านม 1 ราย รับการรักษาได้รับการรักษาและอยู่ภายใต้ความดูแลของแพทย์ โรงพยาบาลยะลาอย่างต่อเนื่อง
ด้วยเหตุนี้ ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาลูปัง ได้เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการดำเนินโครงการสตรีร่วมใจต้านภัยป้องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ด้วยวิธี HPV DNA Test เพื่อส่งเสริมให้สตรีอายุ 30-60 ปี ได้มีทักษะความรู้ เพื่อเป็นวิธีหนึ่งที่สามรถลดอัตราอุบัติการณ์รายใหม่ได
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้/ความเข้าใจการป้องกันควบคุมเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก/มะเร็ง เต้านม
- เพื่อส่งเสริมให้สตรีได้รับการฝึกทักษะการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกวิธี
- เพื่อส่งเสริมให้สตรีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และได้รับการตรวจมะเร็งเต้านม
- เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกในระยะเริ่มแรก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดนิทรรศการเรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านม
- จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายโรคมะเร็งปากมูดลูก มะเร็งเต้านม
- สอนกลุ่มเป้าหมายตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง และประเมินทักษะการตรวจโดยเจ้าหน้าที่
- ติดตามและแนะนำให้คำปรีกษาแก่กลุ่มเป้าหมายเกี่ยวกับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านม
- ตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNA Test
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
148
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สตรีอายุ 30 – 70 ปี มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม
- สตรีอายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี HPV DNA Test ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
- อัตราป่วยและเสียชีวิตจากโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมลดลง ร้อยละ 20
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้/ความเข้าใจการป้องกันควบคุมเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก/มะเร็ง เต้านม
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อส่งเสริมให้สตรีได้รับการฝึกทักษะการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อส่งเสริมให้สตรีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และได้รับการตรวจมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 20 ของสตรีที่มีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก
ร้อยละ 70 ของสตรีที่มีอายุ 30-70 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งเต้านม
4
เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกในระยะเริ่มแรก
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
148
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
148
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้/ความเข้าใจการป้องกันควบคุมเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก/มะเร็ง เต้านม (2) เพื่อส่งเสริมให้สตรีได้รับการฝึกทักษะการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกวิธี (3) เพื่อส่งเสริมให้สตรีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และได้รับการตรวจมะเร็งเต้านม (4) เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกในระยะเริ่มแรก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดนิทรรศการเรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านม (2) จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายโรคมะเร็งปากมูดลูก มะเร็งเต้านม (3) สอนกลุ่มเป้าหมายตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง และประเมินทักษะการตรวจโดยเจ้าหน้าที่ (4) ติดตามและแนะนำให้คำปรีกษาแก่กลุ่มเป้าหมายเกี่ยวกับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านม (5) ตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNA Test
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4155-01-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางหะซะนะฮ์ นาราปัตย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ”
ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางหะซะนะฮ์ นาราปัตย์
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4155-01-03 เลขที่ข้อตกลง 003/68
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4155-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคมะเร็งเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยทำให้เกิดการสูญเสียชีวิตของประชาชนและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเป็นจำนวนมาก โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งในประเทศไทย จากข้อมูลสถิติสาธารณสุขปี พ.ศ.2546 (สถาบันมะเร็งแห่งชาติ, 2548) พบว่า อัตราตายจากโรคมะเร็งของประชากรไทยมีแนวโน้มสูงขึ้น และโรคมะเร็งที่พบมากที่สุดในประเทศไทย ได้แก่ มะเร็งตับ มะเร็งปอด มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม ตามลำดับ สำหรับสตรีไทยโรคมะเร็งปากมดลูกมีอุบัติการณ์สูงเป็นอันดับหนึ่งของโรคมะเร็งทุกชนิด (สถาบันมะเร็งแห่งชาติ, 2548) นอกจากนี้ยังพบว่า การตรวจวินิจฉัยและให้การรักษาผู้ที่มีความผิดปกติของปากมดลูกตั้งแต่ระยะก่อนเป็นมะเร็งตามขั้นตอน ที่ถูกต้องเหมาะสมสามารถลดอุบัติการณ์และอัตราการตายของโรคมะเร็งปากมดลูกได้ เนื่องจากมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่สามารถตรวจพบได้ตั้งแต่เซลล์เริ่มผิดปกติโดยการทำ HPV DNA Test หรือ VIA (Visual Inspection of cervix with Acetic acid)ประกอบกับการดำเนินโรคเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไป และสามารถรักษาให้หายขาดได้โดยการรักษาตามระบบและการจี้เย็น (Cryotherapy) ปีงบประมาณ 2553 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้เห็นความสำคัญของปัญหาจึงให้การสนับสนุนงบประมาณการดำเนินงานโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแก่กระทรวงสาธารณสุข โดยมอบให้สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ ดำเนินโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNA Test และ VIA ในสตรีไทยอายุ 30-60 ปี กำหนดเกณฑ์ตัวชี้วัด ร้อยละของสตรี 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสม ปีงบประมาณ 2567 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
ตำบลกาลูปัง มีเป้าหมาย 581 ราย มีผลการดำเนินงานสามารถคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรี อายุ 30-60 ปี สะสมตั้งแต่ ปี 2563-2567 จำนวน 179 ราย คิดเป็นร้อยละ 26.72 พบเชื้อราในช่องคลอด จำนวน 2 ราย คิดเป็นร้อยละ 01.05 ได้ส่งต่อพบแพทย์โรงพยาบาลรามัน ซึ่งถือว่าน้อยมากและยังไม่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด เนื่องจากหญิงวัยเจริญพันธุ์ยังมีทัศนคติที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการและขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกอีกทั้งบริบทของชุมชนที่เป็นชุมชนมุสลิม ดังนั้นเพื่อให้การคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกในสตรีวัยเจริญพันธุ์ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายและสามารถพบผู้ที่มีความปกติตั้งแต่ระยะแรกเริ่มก่อนเป็นโรคมากขึ้น
ผลการดำเนินงานสามารถคัดกรองมะเร็งเต้านม อายุ 30-70 ปี ดังนี้ กลุ่มเป้าหมายของปี 2567 จำนวน 587 ราย คัดกรองมะเร็งเต้านม จำนวน 610 ราย คิดเป็นร้อยละ 96.13 ผิดปกติจำนวน 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 01.32 ได้ส่งต่อพบแพทย์โรงพยาบาลรามัน เพื่อรับการรักษาที่ต่อเนื่องต่อไป ต่อเนื่อง ในสตรีที่ตรวจพบความผิดปกติของเต้านม ผลการวินิจฉัย พบว่าเป็นซีสต์ (ก้อนไขมัน ) จำนวน 1 ราย ได้รับการวินิจฉัยเป็นมะเร็งเต้านม 1 ราย รับการรักษาได้รับการรักษาและอยู่ภายใต้ความดูแลของแพทย์ โรงพยาบาลยะลาอย่างต่อเนื่อง
ด้วยเหตุนี้ ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาลูปัง ได้เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการดำเนินโครงการสตรีร่วมใจต้านภัยป้องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ด้วยวิธี HPV DNA Test เพื่อส่งเสริมให้สตรีอายุ 30-60 ปี ได้มีทักษะความรู้ เพื่อเป็นวิธีหนึ่งที่สามรถลดอัตราอุบัติการณ์รายใหม่ได
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้/ความเข้าใจการป้องกันควบคุมเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก/มะเร็ง เต้านม
- เพื่อส่งเสริมให้สตรีได้รับการฝึกทักษะการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกวิธี
- เพื่อส่งเสริมให้สตรีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และได้รับการตรวจมะเร็งเต้านม
- เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกในระยะเริ่มแรก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดนิทรรศการเรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านม
- จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายโรคมะเร็งปากมูดลูก มะเร็งเต้านม
- สอนกลุ่มเป้าหมายตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง และประเมินทักษะการตรวจโดยเจ้าหน้าที่
- ติดตามและแนะนำให้คำปรีกษาแก่กลุ่มเป้าหมายเกี่ยวกับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านม
- ตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNA Test
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 148 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สตรีอายุ 30 – 70 ปี มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม
- สตรีอายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี HPV DNA Test ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
- อัตราป่วยและเสียชีวิตจากโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมลดลง ร้อยละ 20
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้/ความเข้าใจการป้องกันควบคุมเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก/มะเร็ง เต้านม ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อส่งเสริมให้สตรีได้รับการฝึกทักษะการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกวิธี ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อส่งเสริมให้สตรีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และได้รับการตรวจมะเร็งเต้านม ตัวชี้วัด : ร้อยละ 20 ของสตรีที่มีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 70 ของสตรีที่มีอายุ 30-70 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งเต้านม |
|
|||
4 | เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกในระยะเริ่มแรก ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 148 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 148 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้/ความเข้าใจการป้องกันควบคุมเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก/มะเร็ง เต้านม (2) เพื่อส่งเสริมให้สตรีได้รับการฝึกทักษะการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกวิธี (3) เพื่อส่งเสริมให้สตรีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และได้รับการตรวจมะเร็งเต้านม (4) เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกในระยะเริ่มแรก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดนิทรรศการเรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านม (2) จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายโรคมะเร็งปากมูดลูก มะเร็งเต้านม (3) สอนกลุ่มเป้าหมายตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง และประเมินทักษะการตรวจโดยเจ้าหน้าที่ (4) ติดตามและแนะนำให้คำปรีกษาแก่กลุ่มเป้าหมายเกี่ยวกับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านม (5) ตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNA Test
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4155-01-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางหะซะนะฮ์ นาราปัตย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......