โครงการอบรมให้ความรู้วิธีการรับมือการโดนล้อเลียน (Bully)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมให้ความรู้วิธีการรับมือการโดนล้อเลียน (Bully) ”
ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
หมู่บ้านเด็กโสสะหาดใหญ่ สงขลา โดยนางอุไร ดวงภักดี ตำแหน่งผู้อำนวยการหมู่บ้านเด็กโสสะหาดใหญ่ สงขลา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้วิธีการรับมือการโดนล้อเลียน (Bully)
ที่อยู่ ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L7890-02-004 เลขที่ข้อตกลง 5
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 พฤษภาคม 2568 ถึง 25 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมให้ความรู้วิธีการรับมือการโดนล้อเลียน (Bully) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้วิธีการรับมือการโดนล้อเลียน (Bully)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้วิธีการรับมือการโดนล้อเลียน (Bully) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L7890-02-004 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 พฤษภาคม 2568 - 25 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,780.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ข้อมูลจากกรมสุขภาพจิต ปี พ.ศ.2565 ประเทศไทยติดอันดับการบูลลี่เป็นที่ 2 ของโลกรองจากประเทศญี่ปุ่น จากข้อมูลการล้อเลียน (Bully) โดยคำที่คนไทยส่วนมากใช้ล้อเลียน (Bully) กันมากที่สุดมักเป็นเรื่องของ รูปลักษณ์ เพศ และความคิดหรือทัศนคติ เช่น ดำ,ตุ๊ด,โง่,เตี้ย,อ้วน,โรคจิต และปัญญาอ่อน เป็นต้น และส่วนใหญ่การล้อเลียน (Bully) จะเกิดขึ้นกับนักเรียนในทุกระดับชั้นโดยเฉพาะจะเกิดขึ้นกับนักเรียนในระดับมัธยมมากที่สุด ซึ่งเป็นช่วงที่กำลังเริ่มเข้าสู่วัยรุ่น โดยการกระทำที่ทำไปทั้งรู้ตัว และไม่รู้ตัว ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นการล้อเลียน (Bully) จากเพื่อน
หากได้ติดตามข่าวสารทางช่องต่างๆ เราคงทราบดีว่าทุกวันนี้ ปัญหาการกลั่นแกล้งกันในสังคม มี่ว่าจะเกิดขึ้นในสถานศึกษา หรือบนโลกออนไลน์ ปัญหานี้เกิดขึ้นทุกวัน และเป็นปัญหาที่ได้รับความสนใจอย่างมาก หลายคนอาจมองว่าการกลั่นแกล้งเป็นเรื่องธรรมดา เป็นเรื่องสนุกสนาน แต่ปัจจุบันการกลั่นแกล้งทั้งในวัยเด็ก วัยรุ่น ได้ส่งผลกระทบเป็นอย่างมากทั้งกับผู้กระทำ และผู้ถูกกระทำ การกลั่นแกล้งไม่ใช่เรื่องล้อเล่นอีกต่อไป แต่อาจเป็นภัยร้ายที่ใกล้ตัว และเป็นอันตรายมากกว่าที่คิด
หมู่บ้านเด็กโสสะหาดใหญ่ สงขลา พบปัญหาเด็กและเยาวชนที่อยู่ในความดูแลโดนล้อเลียน (Bully) จากเพื่อนอยู่บ่อยครั้ง เช่น เด็กกำพร้า เด็กไม่มีพ่อไม่มีแม่ จน กระจอก ไม่มีบ้าน ไม่มีญาติ เป็นต้น ซึ่งส่งผลกระทบกระเทือนทางด้านจิตใจกับเด็กและเยาวชนเป็นอย่างมาก หมู่บ้านเด็กโสสะหาดใหญ่ สงขลา เล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นอย่างมาก จึงได้จัดโครงการอบรมให้ความรู้วิธีรับมือกับการโดนล้อเลียน (Bully) เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีวิธีในการจัดการเมื่อพบเจอปัญหาที่เกิดขึ้นกับตัวเองได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ถึงสาเหตุ ประเภท และโทษ ของการล้อเลียน (Bully) ที่ถูกต้อง
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้ทราบมีความรู้วิธีการรับมือ และการดูแลตัวเองเมื่อโดนล้อเลียน (Bully) ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รับการติดตามช่วยเหลือจากจิตแพทย์ด้านเด็ก และนักจิตวิทยาคลินิก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุม ปรึกษา วางแผน จัดทำขั้นตอนการดำเนินโครงการ
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้วิธีรับมือกับการโดนล้อเลียน (Bully)
- ติดตามช่วยเหลือและให้คำปรึกษาเด็กและเยาวชน เมื่อโดนล้อเลียน (Bully)
- รายงานผลการดำเนินกิจกรรม
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้วิธีรับมือกับการโดนล้อเลียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
70
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กและเยาวชนมีความรู้ถึงสาเหตุ ประเภท และโทษ ของการล้อเลียน (Bully) ที่ถูกต้อง
- เด็กและเยาวชนมีความรู้วิธีการรับมือ และการดูแลตัวเองเมื่อโดนล้อเลียน (Bully) ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- เด็กและเยาวชนได้รับการช่วยเหลือจากจิตแพทย์ด้านเด็ก และนักจิตวิทยาคลินิก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ถึงสาเหตุ ประเภท และโทษ ของการล้อเลียน (Bully) ที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ80 ของผู้เข้าอบรมมีความรู้ถึงสาเหตุ ประเภท และโทษ ของการล้อเลียน (Bully) ที่ถูกต้อง
2
เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้ทราบมีความรู้วิธีการรับมือ และการดูแลตัวเองเมื่อโดนล้อเลียน (Bully) ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ80 ของผู้เข้าอบรมทราบมีความรู้วิธีการรับมือ และการดูแลตัวเองเมื่อโดนล้อเลียน (Bully) ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3
เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รับการติดตามช่วยเหลือจากจิตแพทย์ด้านเด็ก และนักจิตวิทยาคลินิก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้เข้าอบรมที่โดนล้อเลียน (Bully) ได้รับการติดตามช่วยเหลือจากจิตแพทย์ด้านเด็ก และนักจิตวิทยาคลินิก
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
70
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
70
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ถึงสาเหตุ ประเภท และโทษ ของการล้อเลียน (Bully) ที่ถูกต้อง (2) เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้ทราบมีความรู้วิธีการรับมือ และการดูแลตัวเองเมื่อโดนล้อเลียน (Bully) ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม (3) เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รับการติดตามช่วยเหลือจากจิตแพทย์ด้านเด็ก และนักจิตวิทยาคลินิก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุม ปรึกษา วางแผน จัดทำขั้นตอนการดำเนินโครงการ (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้วิธีรับมือกับการโดนล้อเลียน (Bully) (3) ติดตามช่วยเหลือและให้คำปรึกษาเด็กและเยาวชน เมื่อโดนล้อเลียน (Bully) (4) รายงานผลการดำเนินกิจกรรม (5) กิจกรรมอบรมให้ความรู้วิธีรับมือกับการโดนล้อเลียน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมให้ความรู้วิธีการรับมือการโดนล้อเลียน (Bully) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L7890-02-004
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( หมู่บ้านเด็กโสสะหาดใหญ่ สงขลา โดยนางอุไร ดวงภักดี ตำแหน่งผู้อำนวยการหมู่บ้านเด็กโสสะหาดใหญ่ สงขลา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมให้ความรู้วิธีการรับมือการโดนล้อเลียน (Bully) ”
ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
หมู่บ้านเด็กโสสะหาดใหญ่ สงขลา โดยนางอุไร ดวงภักดี ตำแหน่งผู้อำนวยการหมู่บ้านเด็กโสสะหาดใหญ่ สงขลา
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L7890-02-004 เลขที่ข้อตกลง 5
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 พฤษภาคม 2568 ถึง 25 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมให้ความรู้วิธีการรับมือการโดนล้อเลียน (Bully) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้วิธีการรับมือการโดนล้อเลียน (Bully)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้วิธีการรับมือการโดนล้อเลียน (Bully) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L7890-02-004 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 พฤษภาคม 2568 - 25 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,780.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ข้อมูลจากกรมสุขภาพจิต ปี พ.ศ.2565 ประเทศไทยติดอันดับการบูลลี่เป็นที่ 2 ของโลกรองจากประเทศญี่ปุ่น จากข้อมูลการล้อเลียน (Bully) โดยคำที่คนไทยส่วนมากใช้ล้อเลียน (Bully) กันมากที่สุดมักเป็นเรื่องของ รูปลักษณ์ เพศ และความคิดหรือทัศนคติ เช่น ดำ,ตุ๊ด,โง่,เตี้ย,อ้วน,โรคจิต และปัญญาอ่อน เป็นต้น และส่วนใหญ่การล้อเลียน (Bully) จะเกิดขึ้นกับนักเรียนในทุกระดับชั้นโดยเฉพาะจะเกิดขึ้นกับนักเรียนในระดับมัธยมมากที่สุด ซึ่งเป็นช่วงที่กำลังเริ่มเข้าสู่วัยรุ่น โดยการกระทำที่ทำไปทั้งรู้ตัว และไม่รู้ตัว ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นการล้อเลียน (Bully) จากเพื่อน
หากได้ติดตามข่าวสารทางช่องต่างๆ เราคงทราบดีว่าทุกวันนี้ ปัญหาการกลั่นแกล้งกันในสังคม มี่ว่าจะเกิดขึ้นในสถานศึกษา หรือบนโลกออนไลน์ ปัญหานี้เกิดขึ้นทุกวัน และเป็นปัญหาที่ได้รับความสนใจอย่างมาก หลายคนอาจมองว่าการกลั่นแกล้งเป็นเรื่องธรรมดา เป็นเรื่องสนุกสนาน แต่ปัจจุบันการกลั่นแกล้งทั้งในวัยเด็ก วัยรุ่น ได้ส่งผลกระทบเป็นอย่างมากทั้งกับผู้กระทำ และผู้ถูกกระทำ การกลั่นแกล้งไม่ใช่เรื่องล้อเล่นอีกต่อไป แต่อาจเป็นภัยร้ายที่ใกล้ตัว และเป็นอันตรายมากกว่าที่คิด
หมู่บ้านเด็กโสสะหาดใหญ่ สงขลา พบปัญหาเด็กและเยาวชนที่อยู่ในความดูแลโดนล้อเลียน (Bully) จากเพื่อนอยู่บ่อยครั้ง เช่น เด็กกำพร้า เด็กไม่มีพ่อไม่มีแม่ จน กระจอก ไม่มีบ้าน ไม่มีญาติ เป็นต้น ซึ่งส่งผลกระทบกระเทือนทางด้านจิตใจกับเด็กและเยาวชนเป็นอย่างมาก หมู่บ้านเด็กโสสะหาดใหญ่ สงขลา เล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นอย่างมาก จึงได้จัดโครงการอบรมให้ความรู้วิธีรับมือกับการโดนล้อเลียน (Bully) เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีวิธีในการจัดการเมื่อพบเจอปัญหาที่เกิดขึ้นกับตัวเองได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ถึงสาเหตุ ประเภท และโทษ ของการล้อเลียน (Bully) ที่ถูกต้อง
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้ทราบมีความรู้วิธีการรับมือ และการดูแลตัวเองเมื่อโดนล้อเลียน (Bully) ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รับการติดตามช่วยเหลือจากจิตแพทย์ด้านเด็ก และนักจิตวิทยาคลินิก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุม ปรึกษา วางแผน จัดทำขั้นตอนการดำเนินโครงการ
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้วิธีรับมือกับการโดนล้อเลียน (Bully)
- ติดตามช่วยเหลือและให้คำปรึกษาเด็กและเยาวชน เมื่อโดนล้อเลียน (Bully)
- รายงานผลการดำเนินกิจกรรม
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้วิธีรับมือกับการโดนล้อเลียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 70 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กและเยาวชนมีความรู้ถึงสาเหตุ ประเภท และโทษ ของการล้อเลียน (Bully) ที่ถูกต้อง
- เด็กและเยาวชนมีความรู้วิธีการรับมือ และการดูแลตัวเองเมื่อโดนล้อเลียน (Bully) ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- เด็กและเยาวชนได้รับการช่วยเหลือจากจิตแพทย์ด้านเด็ก และนักจิตวิทยาคลินิก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ถึงสาเหตุ ประเภท และโทษ ของการล้อเลียน (Bully) ที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : ร้อยละ80 ของผู้เข้าอบรมมีความรู้ถึงสาเหตุ ประเภท และโทษ ของการล้อเลียน (Bully) ที่ถูกต้อง |
|
|||
2 | เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้ทราบมีความรู้วิธีการรับมือ และการดูแลตัวเองเมื่อโดนล้อเลียน (Bully) ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ตัวชี้วัด : ร้อยละ80 ของผู้เข้าอบรมทราบมีความรู้วิธีการรับมือ และการดูแลตัวเองเมื่อโดนล้อเลียน (Bully) ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม |
|
|||
3 | เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รับการติดตามช่วยเหลือจากจิตแพทย์ด้านเด็ก และนักจิตวิทยาคลินิก ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้เข้าอบรมที่โดนล้อเลียน (Bully) ได้รับการติดตามช่วยเหลือจากจิตแพทย์ด้านเด็ก และนักจิตวิทยาคลินิก |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 70 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 70 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ถึงสาเหตุ ประเภท และโทษ ของการล้อเลียน (Bully) ที่ถูกต้อง (2) เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้ทราบมีความรู้วิธีการรับมือ และการดูแลตัวเองเมื่อโดนล้อเลียน (Bully) ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม (3) เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รับการติดตามช่วยเหลือจากจิตแพทย์ด้านเด็ก และนักจิตวิทยาคลินิก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุม ปรึกษา วางแผน จัดทำขั้นตอนการดำเนินโครงการ (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้วิธีรับมือกับการโดนล้อเลียน (Bully) (3) ติดตามช่วยเหลือและให้คำปรึกษาเด็กและเยาวชน เมื่อโดนล้อเลียน (Bully) (4) รายงานผลการดำเนินกิจกรรม (5) กิจกรรมอบรมให้ความรู้วิธีรับมือกับการโดนล้อเลียน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมให้ความรู้วิธีการรับมือการโดนล้อเลียน (Bully) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L7890-02-004
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( หมู่บ้านเด็กโสสะหาดใหญ่ สงขลา โดยนางอุไร ดวงภักดี ตำแหน่งผู้อำนวยการหมู่บ้านเด็กโสสะหาดใหญ่ สงขลา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......