กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการตาดีกาบ้านกาโมเเรสีขาวปลอดสารเสพติดและอบายมุข ”
ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรา อุมา




ชื่อโครงการ โครงการตาดีกาบ้านกาโมเเรสีขาวปลอดสารเสพติดและอบายมุข

ที่อยู่ ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 68-L2490-2-25 เลขที่ข้อตกลง 37/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตาดีกาบ้านกาโมเเรสีขาวปลอดสารเสพติดและอบายมุข จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตาดีกาบ้านกาโมเเรสีขาวปลอดสารเสพติดและอบายมุข



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตาดีกาบ้านกาโมเเรสีขาวปลอดสารเสพติดและอบายมุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะลุวอ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2490-2-25 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลุวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ 2545. และพ.ศ. 2553 ใน มาตรา 24และมาตรา 30ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาการจัดการศึกษา และพัฒนาคุณภาพการ เรียนรู้ด้านการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมแก่นักเรียน นักศึกษา อันจะทำให้เด็กสามารถพัฒนาได้เต็มศักยภาพและ สามารถดำรงชีวิต อยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข ตลอดจนสามารถช่วยเหลือสังคมได้และสามารถใช้ความรู้ที่ได้ศึกษา มา นำไปพัฒนาเป็นเครื่องมือในการประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ สถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งเป็นผู้จัดการศึกษาจะต้องมีแนวทางในการการจัดการศึกษา ที่เป็นไปเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจสติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ความสุข และสามารถพัฒนาสถานศึกษาให้สามารถนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการจัดการเรียน การสอนและการบริหารจัดการที่เหมาะสมกับบริบทของแต่ละสถานศึกษาได้เนื่องจากสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง ไปอย่างมาก ทั้งด้านการสื่อสารเทคโนโลยีต่างๆ ซึ่งนอกจากจะส่งผลกระทบต่อผู้คนในเชิงบวก ในเชิงลบก็มี ปรากฏการณ์ เช่นกันเป็นต้นว่า ปัญหาทางเศรษฐกิจ ปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติด ปัญหาการแข่งขันใน รูปแบบต่างๆ ปัญหาครอบครัวที่เกิดความทุกข์ ความวิตกกังวล ความเครียด มีการปรับตัวที่ไม่เหมาะสม หรืออื่นๆ ภาพความสำเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนานักเรียน นักศึกษา ให้เป็นไปตามความมุ่งหวังนั้นต้องอาศัยความร่วมมือ จากผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ทุกคน โดยเฉพาะบุคลากรทางการศึกษาทุกคนในสถานศึกษา ซึ่งมีครูอาจารย์เป็นหลัก สำคัญในการดำเนินการพัฒนาคุณภาพชีวิตของนักเรียน นักศึกษา ให้เติบโตงดงามและเป็นบุคคลที่มีคุณค่าของ สังคม ดังนั้นนเพื่อให้สถานศึกษามีระบบการป้องกันที ่เข้มแข็งและยั่งยืนจึงให้มีการดำเนินงาน 5 มาตรการ ได้แก่ มาตรการป้องกัน มาตรการค้นหา มาตรการรักษา มาตรการเฝ้าระวัง มาตรการ บริหาร จัดการ และกลยุทธ์ 4 ต้อง2ไม่คือ ต้องมียุทธศาสตร์ ต้องมีแผนงาน ต้องมีระบบข้อมูล ต้องมีเครือข่าย และ 2 ไม่คือ ไม่ปกปิดข้อมูล ไม่ไล่ออก เป็นแนวทางการดำเนินงาน
โรงเรียนจึงมีความจำเป็นที่จะต้องจัดทำโครงการโรงเรียนสีขาวขั้นมารองรับ เพื่อสร้างความ ตระหนักถึงปัญหาอันก่อให้เกิดการแสวงหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันตนเองห่างไกลจากยาเสพติดเเละสิ่งอบายมุขต่างๆ
  2. เพื่อลดปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดและอบายมุขในสถานศึกษา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่องการป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติดเเละอบายมุข
  2. กิจกรรมแลกเปลี่ยนปัญหาสิ่งเสพในตาดีกาเเละปลอดอบายมุข

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 88
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สามารถนำความรู้หลีกเลี่ยงจากสิ่งเสพติดเเละอบายมุข 2.ลดปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดและอบายมุขในสถานศึกษา 3.สามารถป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด อบายมุขได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันตนเองห่างไกลจากยาเสพติดเเละสิ่งอบายมุขต่างๆ
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้และสามารถป้องกันตนเอง เพื่อไม่ให้ไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดและอบายมุขต่าง ๆ
70.00 90.00

 

2 เพื่อลดปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดและอบายมุขในสถานศึกษา
ตัวชี้วัด : ปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดและอบายมุขในสถานศึกษาลดลง
60.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 88
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 88
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันตนเองห่างไกลจากยาเสพติดเเละสิ่งอบายมุขต่างๆ (2) เพื่อลดปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดและอบายมุขในสถานศึกษา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่องการป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติดเเละอบายมุข (2) กิจกรรมแลกเปลี่ยนปัญหาสิ่งเสพในตาดีกาเเละปลอดอบายมุข

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการตาดีกาบ้านกาโมเเรสีขาวปลอดสารเสพติดและอบายมุข จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 68-L2490-2-25

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนูรา อุมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด