โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงด้วยวิธี FIT Test เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงด้วยวิธี FIT Test เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2568 ”
ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงด้วยวิธี FIT Test เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2568
ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L6895-01-06 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 มีนาคม 2568 ถึง 29 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงด้วยวิธี FIT Test เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงด้วยวิธี FIT Test เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงด้วยวิธี FIT Test เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L6895-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 มีนาคม 2568 - 29 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,225.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่/ไส้ตรง (Colorectal cancer; CRC) ในประเทศไทย มะเร็งลำไส้ใหญ่/ไส้ตรงถือเป็นหนึ่งใน 5 ของมะเร็งที่พบมากที่สุด ข้อมูลจากสถาบันมะเร็งแห่งชาติ พบว่า มะเร็งลำไส้ใหญ่ พบบ่อยในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง โดยอัตราการเกิดมะเร็งลำไส้ในผู้ชาย 16.2 ต่อประชากร 100,000 คน และในผู้หญิง 11.1 ต่อประชากร 100,000 คน โดยกว่า 90% มะเร็งลำไส้เป็นชนิด Adenocarcinoma ซึ่งเป็นผลจากเซลล์เยื่อบุในผนังลำไส้มีการเปลี่ยนแปลงเกิดเป็นติ่งเนื้อเล็กๆ ที่เรียกว่า ติ่งเนื้อ หรือ โพลิบ (Polyp) ซึ่งติ่งเนื้อบางส่วนอาจโตขึ้นและพัฒนาจนกลายเป็นมะเร็งได้ อุบัติการณ์ที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น จากสถานการณ์การเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่/ไส้ตรงที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากอดีตที่ผ่านมา โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งในกลุ่มประชากรที่อาศัยในเขตเมือง ทั้งนี้เนื่องมาจาก พฤติกรรมและวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป ได้แก่ การใช้ชีวิตที่ไม่ค่อยได้เคลื่อนไหวร่างกาย หรือขาดการออกกำลังกายสม่ำเสมอ การมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม เช่น การสูบบุหรี่ และการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เป็นต้น รวมถึงพฤติกรรมการบริโภคอาหาร บางประเภทมาก หรือน้อยเกินไป เช่น การบริโภคเนื้อแดง ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากเนื้อสัตว์ และบริโภคอาหารที่มีกากใย น้อยลง (สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่/ไส้ตรง ทั้งสิ้น การทดสอบเพื่อตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่/ไส้ตรงในระยะเริ่มแรกที่นิยมปฏิบัติมี หลากหลายวิธี และในจำนวนการทดสอบ (test) ทั้งหมดการตรวจคัดกรองด้วยวิธีการตรวจอุจจาระเพื่อหาเลือดแฝง (Fecal immunochemical test) สามารถช่วยลดอัตราตายจากมะเร็งลำไส้ใหญ่/ไส้ตรงได้ เนื่องจากมีการตรวจพบความผิดปกติของมะเร็งในระยะเริ่มต้นก่อน ทำให้สามารถดำเนินการรักษาได้ทันก่อนพัฒนาไปสู่มะเร็งเต็มขั้น ยังมีวิธีการตรวจคัดกรองที่นิยมแพร่หลายคือการยืนยันด้วยการส่องกล้องตรวจ ลำไส้ ใหญ่/ไส้ตรง เป็นเทคนิคการตรวจคัดกรองที่ได้รับการยอมรับและมีความแม่นยำในการทำนายสูง
ศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองกันตัง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงด้วยวิธี FIT Test เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2568 เพื่อพัฒนาระบบป้องกันและควบคุมมะเร็ง โดยให้ความสำคัญต่อการตรวจคัดกรองผู้ป่วยมะเร็งในระยะแรก เพื่อการรักษาและป้องกันที่ถูกต้องและทันท่วงที ลดอัตราการตายและการลุกลามของมะเร็งลำไส้ใหญ่/ไส้ตรงได้ เพื่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้แกนนำสุขภาพชุมชนมีความรู้ในเรื่องมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง ปัจจัยเสี่ยงที่ส่งเสริมให้เกิดโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง และสามารถถ่ายทอดความรู้ที่ได้ให้แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ 50-70 ปี ในเขตความรับผิดชอบของตนเองได้
- เพื่อค้นหาโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง ในระยะเริ่มแรกและระยะก่อนเป็นมะเร็ง โดยมีระบบส่งต่อ เพื่อการตรวจวินิจฉัยและการรักษา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำสุขภาพ
- กิจกรรมตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
95
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้แกนนำสุขภาพชุมชนมีความรู้ในเรื่องมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง ปัจจัยเสี่ยงที่ส่งเสริมให้เกิดโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง และสามารถถ่ายทอดความรู้ที่ได้ให้แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ 50-70 ปี ในเขตความรับผิดชอบของตนเองได้
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อค้นหาโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง ในระยะเริ่มแรกและระยะก่อนเป็นมะเร็ง โดยมีระบบส่งต่อ เพื่อการตรวจวินิจฉัยและการรักษา
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงโดยการตรวจ FIT Test (Fecal Immunochemical Test)
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
95
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
95
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้แกนนำสุขภาพชุมชนมีความรู้ในเรื่องมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง ปัจจัยเสี่ยงที่ส่งเสริมให้เกิดโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง และสามารถถ่ายทอดความรู้ที่ได้ให้แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ 50-70 ปี ในเขตความรับผิดชอบของตนเองได้ (2) เพื่อค้นหาโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง ในระยะเริ่มแรกและระยะก่อนเป็นมะเร็ง โดยมีระบบส่งต่อ เพื่อการตรวจวินิจฉัยและการรักษา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำสุขภาพ (2) กิจกรรมตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงด้วยวิธี FIT Test เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2568 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L6895-01-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงด้วยวิธี FIT Test เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2568 ”
ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L6895-01-06 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 มีนาคม 2568 ถึง 29 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงด้วยวิธี FIT Test เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงด้วยวิธี FIT Test เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงด้วยวิธี FIT Test เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L6895-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 มีนาคม 2568 - 29 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,225.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่/ไส้ตรง (Colorectal cancer; CRC) ในประเทศไทย มะเร็งลำไส้ใหญ่/ไส้ตรงถือเป็นหนึ่งใน 5 ของมะเร็งที่พบมากที่สุด ข้อมูลจากสถาบันมะเร็งแห่งชาติ พบว่า มะเร็งลำไส้ใหญ่ พบบ่อยในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง โดยอัตราการเกิดมะเร็งลำไส้ในผู้ชาย 16.2 ต่อประชากร 100,000 คน และในผู้หญิง 11.1 ต่อประชากร 100,000 คน โดยกว่า 90% มะเร็งลำไส้เป็นชนิด Adenocarcinoma ซึ่งเป็นผลจากเซลล์เยื่อบุในผนังลำไส้มีการเปลี่ยนแปลงเกิดเป็นติ่งเนื้อเล็กๆ ที่เรียกว่า ติ่งเนื้อ หรือ โพลิบ (Polyp) ซึ่งติ่งเนื้อบางส่วนอาจโตขึ้นและพัฒนาจนกลายเป็นมะเร็งได้ อุบัติการณ์ที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น จากสถานการณ์การเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่/ไส้ตรงที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากอดีตที่ผ่านมา โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งในกลุ่มประชากรที่อาศัยในเขตเมือง ทั้งนี้เนื่องมาจาก พฤติกรรมและวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป ได้แก่ การใช้ชีวิตที่ไม่ค่อยได้เคลื่อนไหวร่างกาย หรือขาดการออกกำลังกายสม่ำเสมอ การมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม เช่น การสูบบุหรี่ และการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เป็นต้น รวมถึงพฤติกรรมการบริโภคอาหาร บางประเภทมาก หรือน้อยเกินไป เช่น การบริโภคเนื้อแดง ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากเนื้อสัตว์ และบริโภคอาหารที่มีกากใย น้อยลง (สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่/ไส้ตรง ทั้งสิ้น การทดสอบเพื่อตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่/ไส้ตรงในระยะเริ่มแรกที่นิยมปฏิบัติมี หลากหลายวิธี และในจำนวนการทดสอบ (test) ทั้งหมดการตรวจคัดกรองด้วยวิธีการตรวจอุจจาระเพื่อหาเลือดแฝง (Fecal immunochemical test) สามารถช่วยลดอัตราตายจากมะเร็งลำไส้ใหญ่/ไส้ตรงได้ เนื่องจากมีการตรวจพบความผิดปกติของมะเร็งในระยะเริ่มต้นก่อน ทำให้สามารถดำเนินการรักษาได้ทันก่อนพัฒนาไปสู่มะเร็งเต็มขั้น ยังมีวิธีการตรวจคัดกรองที่นิยมแพร่หลายคือการยืนยันด้วยการส่องกล้องตรวจ ลำไส้ ใหญ่/ไส้ตรง เป็นเทคนิคการตรวจคัดกรองที่ได้รับการยอมรับและมีความแม่นยำในการทำนายสูง
ศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองกันตัง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงด้วยวิธี FIT Test เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2568 เพื่อพัฒนาระบบป้องกันและควบคุมมะเร็ง โดยให้ความสำคัญต่อการตรวจคัดกรองผู้ป่วยมะเร็งในระยะแรก เพื่อการรักษาและป้องกันที่ถูกต้องและทันท่วงที ลดอัตราการตายและการลุกลามของมะเร็งลำไส้ใหญ่/ไส้ตรงได้ เพื่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้แกนนำสุขภาพชุมชนมีความรู้ในเรื่องมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง ปัจจัยเสี่ยงที่ส่งเสริมให้เกิดโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง และสามารถถ่ายทอดความรู้ที่ได้ให้แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ 50-70 ปี ในเขตความรับผิดชอบของตนเองได้
- เพื่อค้นหาโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง ในระยะเริ่มแรกและระยะก่อนเป็นมะเร็ง โดยมีระบบส่งต่อ เพื่อการตรวจวินิจฉัยและการรักษา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำสุขภาพ
- กิจกรรมตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 95 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้แกนนำสุขภาพชุมชนมีความรู้ในเรื่องมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง ปัจจัยเสี่ยงที่ส่งเสริมให้เกิดโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง และสามารถถ่ายทอดความรู้ที่ได้ให้แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ 50-70 ปี ในเขตความรับผิดชอบของตนเองได้ ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อค้นหาโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง ในระยะเริ่มแรกและระยะก่อนเป็นมะเร็ง โดยมีระบบส่งต่อ เพื่อการตรวจวินิจฉัยและการรักษา ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงโดยการตรวจ FIT Test (Fecal Immunochemical Test) |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 95 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 95 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้แกนนำสุขภาพชุมชนมีความรู้ในเรื่องมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง ปัจจัยเสี่ยงที่ส่งเสริมให้เกิดโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง และสามารถถ่ายทอดความรู้ที่ได้ให้แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ 50-70 ปี ในเขตความรับผิดชอบของตนเองได้ (2) เพื่อค้นหาโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง ในระยะเริ่มแรกและระยะก่อนเป็นมะเร็ง โดยมีระบบส่งต่อ เพื่อการตรวจวินิจฉัยและการรักษา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำสุขภาพ (2) กิจกรรมตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงด้วยวิธี FIT Test เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2568 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L6895-01-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......